Local cover image
Local cover image

แนวทางการพัฒนาทางเท้าที่เหมาะสมกับชุมชนเมือง : กรณีศึกษาในพื้นที่เขตดุสิต = SUGGESTION FOR DEVELOPMENT OF SIDEWALKS SUITABLE FOR URBAN COMMUNITIES : A CASE STUDY IN DUSIT DISTRICT

By: Material type: TextTextSeries: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมืองPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2564.Description: 71 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): LOC classification:
  • วพ TE280 ก233น 2564
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564 Summary: ทางเท้าของคนเมืองนับว่ามีความสำคัญ ที่ช่วยให้ประชาชนสามารถเดินทางได้อย่างรวดเร็ว และจะช่วยลดการใช้รถยนต์ได้เป็นจำนวนมาก หากทางเท้ามีความเหมาะสมและเอื้อต่อการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันของประชาชน จึงได้มีการศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสภาพทางกายภาพของทางเท้าด้านความสะดวกความสะอาด ความปลอดภัย และด้านสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ของทางเท้า การศึกษาการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ขั้นตอนในการสำรวจข้อมูลด้วยวิธีการงเกตการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามแบบเลือกตอบ จำนวน 400 ชุด เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานศึกษาปัจจัยความต้องการและความคิดเห็นของผู้ใช้ทางเท้า ผลจากการสำรวจในพื้นที่กรณีศึกษาพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ต้องการปรับปรุง ได้แก่ (1) ความปลอดภัยในการเดินบนทางเท้า โดยให้ความสำคัญกับประเด็นด้านปัญหาพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า โดยคิดเป็น 85.05 เปอร์เซ็นต์ (2) ปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อมความสะอาดน่ามอง โดยให้ความสำคัญในด้านการรักษาความสะอาดน่ามองของทางเดินเท้า โดยคิดเป็น 83.4 เปอร์เซ็นต์ (3) ปรับปรุงด้านความสะดวกสบายในการเดิน โดยให้ความสำคัญด้านสภาพพื้นผิวของทางเท้าบริเวณที่ใช้ในการเดินทางเป็นหลุมเป็นบ่อ โดยคิดเป็น 82.8 เปอร์เซ็นต์ ผลจากการวิเคราะห์การปรับปรุงทางเท้าทั้งระบบ โดยให้มีมาตรฐานที่มีความกว้างของทางเดินเท้าที่เพียงพอ ไม่มีสิ่งกีดขวางให้มีความสะดวกในการเดินและพื้นผิวทางเท้าที่ต้องมีสภาพเหมาะสมกับการใช้งาน และสามารถใช้งานได้ดีกับประชาชนทุกวัยโดยเฉพาะผู้สูงอายุและผู้พิการต้องอาศัยหลักการออกแบบ (Universal Design) คือ เพิ่มขนาดความกว้างของทางเดินเท้า เพื่อให้เกิดระยะห่างที่มีสัดส่วนของทางเท้าให้มากขึ้นระหว่างเวลาเดินสวนทางกัน โดยเฉพาะบริเวณที่มีประชาชนใช้พื้นที่ทางเท้าในการสัญจรหนาแน่น โดยเฉพาะในการดูแลบริเวณพื้นผิวทางเท้าไม่ให้มีเศษขยะมูลฝอยมูลสัตว์ จัดให้มีการวางถังขยะอยู่ในบริเณที่เหมาะสมและสะดวกในการเก็บทิ้ง และต้องการปรับปรุงสภาพทางกายภาพของทางเท้าที่มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นมีสิ่งปกคลุมเพื่อป้องกันแสงแดด หรือฝนตกได้บางส่วน และให้มีการปลูกต้นไม้โดยเฉพาะไม้ประดับที่มีขนาดไม่โตเกินไปและมีดอกไม้ที่มีสีสันสวยงามเพื่อเพิ่มทัศนียภาพที่ดีในบริเวณทางเท้า
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit Available eb37364
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit วพ TE280 ก233น 2564 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047608
Total holds: 0
Browsing Kuakarun Nursing Library shelves Close shelf browser (Hides shelf browser)
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
วพ QZ 266 ส732ก 2554 การปฏิเสธการรักษาด้วยการผ่าตัดกล่องเสียงของผู้ป่วยมะเร็งกล่องเสียง = A Surgery Refusal of Laryngeal Cancer Patients วพ QZ 365 บ783ค 2544 ความเข้มแข็งอดทนและความเครียดของสตรีที่เป็นมะเร็งเต้านม = Hardiness and stress in breast cancer women วพ TD785 ป748ก 2564 การจัดการขยะในพื้นที่ท่องเที่ยวเขตเมือง กรณีศึกษาตลาดน้้าตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร = SOLID WASTE MANAGEMENT IN URBAN TOURIST AREA : THE CASE STUDY OF TALING CHAN FLOATING MARKET, BANGKOK วพ TE280 ก233น 2564 แนวทางการพัฒนาทางเท้าที่เหมาะสมกับชุมชนเมือง : กรณีศึกษาในพื้นที่เขตดุสิต = SUGGESTION FOR DEVELOPMENT OF SIDEWALKS SUITABLE FOR URBAN COMMUNITIES : A CASE STUDY IN DUSIT DISTRICT วพ TH9145 พ236ก 2564 การประเมินความต้องการจำเป็นในการตอบโต้สารเคมี และวัตถุอันตรายของเจ้าหน้าที่ดับเพลิง กรณีศึกษา สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร = NEED ASSESSMENT IN RESPONDENCE TO CHEMICALS AND HAZARDOUS SUBSTANCES OF FIREFIGHTER A CASE STUDY OF BANGKOK FIRE AND RESCUE DEPARTMENT วพ W 20.5 ป619ภ 2558 ภาวะผู้นำด้านการบริหารจัดการทางการแพทย์และยุทธศาสาตร์การพัฒนาสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของของคนเมืองที่ศึกษาเฉพาะกรณีของศูนย์ความเป็นเลิศทางการแพทย์ของกรุงเทพมหานคร = Leadership in Medical Service Management and Health Development Strategy to Improve the Quality of Life in Urban Population: A Case study of the Center of Excellence BMA วพ W 4 K23p 2002 Physical activity assessment and determinants of active living : the development of a model for promoting physical activity among older Thais

วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564

ทางเท้าของคนเมืองนับว่ามีความสำคัญ ที่ช่วยให้ประชาชนสามารถเดินทางได้อย่างรวดเร็ว และจะช่วยลดการใช้รถยนต์ได้เป็นจำนวนมาก หากทางเท้ามีความเหมาะสมและเอื้อต่อการใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันของประชาชน จึงได้มีการศึกษาโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสภาพทางกายภาพของทางเท้าด้านความสะดวกความสะอาด ความปลอดภัย และด้านสิ่งแวดล้อมภูมิทัศน์ของทางเท้า การศึกษาการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) ขั้นตอนในการสำรวจข้อมูลด้วยวิธีการงเกตการณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามแบบเลือกตอบ จำนวน 400 ชุด เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานศึกษาปัจจัยความต้องการและความคิดเห็นของผู้ใช้ทางเท้า ผลจากการสำรวจในพื้นที่กรณีศึกษาพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ต้องการปรับปรุง ได้แก่ (1) ความปลอดภัยในการเดินบนทางเท้า โดยให้ความสำคัญกับประเด็นด้านปัญหาพฤติกรรมการขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า โดยคิดเป็น 85.05 เปอร์เซ็นต์ (2) ปรับปรุงด้านสิ่งแวดล้อมความสะอาดน่ามอง โดยให้ความสำคัญในด้านการรักษาความสะอาดน่ามองของทางเดินเท้า โดยคิดเป็น 83.4 เปอร์เซ็นต์ (3) ปรับปรุงด้านความสะดวกสบายในการเดิน โดยให้ความสำคัญด้านสภาพพื้นผิวของทางเท้าบริเวณที่ใช้ในการเดินทางเป็นหลุมเป็นบ่อ โดยคิดเป็น 82.8 เปอร์เซ็นต์ ผลจากการวิเคราะห์การปรับปรุงทางเท้าทั้งระบบ โดยให้มีมาตรฐานที่มีความกว้างของทางเดินเท้าที่เพียงพอ ไม่มีสิ่งกีดขวางให้มีความสะดวกในการเดินและพื้นผิวทางเท้าที่ต้องมีสภาพเหมาะสมกับการใช้งาน และสามารถใช้งานได้ดีกับประชาชนทุกวัยโดยเฉพาะผู้สูงอายุและผู้พิการต้องอาศัยหลักการออกแบบ (Universal Design) คือ เพิ่มขนาดความกว้างของทางเดินเท้า เพื่อให้เกิดระยะห่างที่มีสัดส่วนของทางเท้าให้มากขึ้นระหว่างเวลาเดินสวนทางกัน โดยเฉพาะบริเวณที่มีประชาชนใช้พื้นที่ทางเท้าในการสัญจรหนาแน่น โดยเฉพาะในการดูแลบริเวณพื้นผิวทางเท้าไม่ให้มีเศษขยะมูลฝอยมูลสัตว์ จัดให้มีการวางถังขยะอยู่ในบริเณที่เหมาะสมและสะดวกในการเก็บทิ้ง และต้องการปรับปรุงสภาพทางกายภาพของทางเท้าที่มีสภาพแวดล้อมที่ร่มรื่นมีสิ่งปกคลุมเพื่อป้องกันแสงแดด หรือฝนตกได้บางส่วน และให้มีการปลูกต้นไม้โดยเฉพาะไม้ประดับที่มีขนาดไม่โตเกินไปและมีดอกไม้ที่มีสีสันสวยงามเพื่อเพิ่มทัศนียภาพที่ดีในบริเวณทางเท้า

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image