Local cover image
Local cover image

ข้าแต่ศาลที่เคารพ

By: Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ: มติชน: 2558Description: 234 หน้าISBN:
  • 5522300020021
Subject(s): Online resources: Summary: ท่ามกลางวังวนของความขัดแย้งจากสองขั้วอำนาจ ต่อให้เกมบนหมากกระดานการเมืองจะรุนแรงสักแค่ไหน "กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม" ก็ยังเป็นกลไกในการระงับความขัดแย้งมิให้บานปลาย หนังสือ "ข้าแต่ศาลที่เคารพ" เล่มนี้ ได้รวบรวมบทความของ "สมลักษณ์ จัดกระบวนพล" อดีตผู้พิพากษาศาลฎีกาและกรรมการ ปปช. ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางกฎหมายในยุค "ตุลาการภิวัตน์"เริ่มจากช่วงเวลาก่อนจะเกิดปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองไทย ซึ่งแบ่งแยกเป็นสองขั้วอย่างชัดเจน กระทั่งระบบการเมืองแบบปกติไม่สามารถแก้ปัญหาได้ บุคคลจำนวนหนึ่งจึงผลักดันให้เกิดการปรากฏการณ์ตุลาการภิวัฒน์ขึ้น เพียงเพราะหวังจะให้สถานการณ์บ้านเมืองเป็นไปในทางคลี่คลาย แต่สุดท้าย ความขัดแย้งทางการเมืองก็ยังอยู่ ซ้ำยังมีเหตุรัฐประหารซึ่งฉีกทุกกฏการเมืองอีกด้วย ด้วยเหตุและผลเดียวกันของผู้ขียน จึงได้ชี้แจงถึงข้อกฎหมายที่ประชาชนควรให้ความสนใจ ด้วยการออกมาให้สัมภาษณ์ในช่วงที่เกิดกระแสการเมือง อีกทั้งเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์มติชน เพื่อยืนยันให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของกฎหมาย เช่นเดียวกับยืนยันว่ากระบวนการยุติธรรมก็ควรยึดหลักตามเจตนารมย์ของกฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรมด้วย เนื่องจากสิ่งนี้เท่านั้นที่จะทำให้ความขัดแย้งได้รับการคลี่คลาย บ้านเมืองจึงเดินหน้าต่อไปได้
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb38329
Total holds: 0

ท่ามกลางวังวนของความขัดแย้งจากสองขั้วอำนาจ ต่อให้เกมบนหมากกระดานการเมืองจะรุนแรงสักแค่ไหน "กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม" ก็ยังเป็นกลไกในการระงับความขัดแย้งมิให้บานปลาย หนังสือ "ข้าแต่ศาลที่เคารพ" เล่มนี้ ได้รวบรวมบทความของ "สมลักษณ์ จัดกระบวนพล" อดีตผู้พิพากษาศาลฎีกาและกรรมการ ปปช. ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ทางกฎหมายในยุค "ตุลาการภิวัตน์"เริ่มจากช่วงเวลาก่อนจะเกิดปรากฏการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองไทย ซึ่งแบ่งแยกเป็นสองขั้วอย่างชัดเจน กระทั่งระบบการเมืองแบบปกติไม่สามารถแก้ปัญหาได้ บุคคลจำนวนหนึ่งจึงผลักดันให้เกิดการปรากฏการณ์ตุลาการภิวัฒน์ขึ้น เพียงเพราะหวังจะให้สถานการณ์บ้านเมืองเป็นไปในทางคลี่คลาย แต่สุดท้าย ความขัดแย้งทางการเมืองก็ยังอยู่ ซ้ำยังมีเหตุรัฐประหารซึ่งฉีกทุกกฏการเมืองอีกด้วย ด้วยเหตุและผลเดียวกันของผู้ขียน จึงได้ชี้แจงถึงข้อกฎหมายที่ประชาชนควรให้ความสนใจ ด้วยการออกมาให้สัมภาษณ์ในช่วงที่เกิดกระแสการเมือง อีกทั้งเขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์มติชน เพื่อยืนยันให้ทุกฝ่ายตระหนักถึงความสำคัญของกฎหมาย เช่นเดียวกับยืนยันว่ากระบวนการยุติธรรมก็ควรยึดหลักตามเจตนารมย์ของกฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรมด้วย เนื่องจากสิ่งนี้เท่านั้นที่จะทำให้ความขัดแย้งได้รับการคลี่คลาย บ้านเมืองจึงเดินหน้าต่อไปได้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image