Local cover image
Local cover image

ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุน้อย = THE EFFECTS OF PROMOTING PERCEPTION OF HEALTH BELIEFS PROGRAM COMBINED WITH MOBILE APPLICATION ON PREVENTIVE BEHAVIORS IN YOUNG ADULTS AT RISK OF STROKE

By: Material type: TextTextSeries: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2565.Description: 158 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): NLM classification:
  • วพ WY152.5
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2565 Summary: โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของโลก ซึ่งพบมากขึ้นในประชากรที่มีอายุน้อยลง ส่งผลกระทบมากมายต่อผู้รอดชีวิต การมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้Summary: การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 18-45 ปี ที่เข้ารับบริการ ณ คลินิกอายุรกรรมทั่วไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 50 คน กลุ่มทดลอง 25 คน ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชัน กลุ่มควบคุม 25 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือหลักที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชัน และแบบประเมินพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมีค่า CVI เท่ากับ .96 ค่า Cronbach’s Alpha เท่ากับ .72 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติค่าทีSummary: ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05Summary: สรุปได้ว่า โปรแกรมฯ ช่วยให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่มีอายุน้อยมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในที่ระดับสูงขึ้นได้ควรนําไปพัฒนาใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อโรค กลุ่มอื่น ๆ ต่อไป
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Shelving Cart วพ WY152.5 ย993ผ 2565 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047613
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit วพ WY152.5 ย993ผ 2565 (Browse shelf(Opens below)) Online Access eb37369
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2565

โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญ เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 2 ของโลก ซึ่งพบมากขึ้นในประชากรที่มีอายุน้อยลง ส่งผลกระทบมากมายต่อผู้รอดชีวิต การมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง จะช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้

การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชันต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 18-45 ปี ที่เข้ารับบริการ ณ คลินิกอายุรกรรมทั่วไป โรงพยาบาลระดับตติยภูมิขั้นสูงแห่งหนึ่ง ในกรุงเทพมหานคร จํานวน 50 คน กลุ่มทดลอง 25 คน ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชัน กลุ่มควบคุม 25 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติ เครื่องมือหลักที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมการรับรู้ความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับการใช้แอปพลิเคชัน และแบบประเมินพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมีค่า CVI เท่ากับ .96 ค่า Cronbach’s Alpha เท่ากับ .72 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติค่าที

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง หลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

สรุปได้ว่า โปรแกรมฯ ช่วยให้ผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองที่มีอายุน้อยมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในที่ระดับสูงขึ้นได้ควรนําไปพัฒนาใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยที่เสี่ยงต่อโรค กลุ่มอื่น ๆ ต่อไป

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image