Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

การเขียนทางเทคนิคในสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ = Technical Writing

By: Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ: สสท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น): 2556Description: 272 หน้าISBN:
  • 9789744435385
Subject(s): Online resources: Summary: “การเขียนทางเทคนิค (Technical Writing)” เป็นทักษะที่สำคัญสำหรับนิสิต นักศึกษา และบุคลากรที่ทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเขียนทางเทคนิคพบในแบบเสนอโครงการ (Project Proposal) โครงงานปริญญานิพนธ์ (Senior Project) วิทยานิพนธ์ (Thesis) โครงการวิจัย รายงานเชิงเทคนิค บทความวิชาการ ฯลฯ งานเขียนทางเทคนิคแตกต่างจากงานเขียนทั่วไป เนื่องจากงานเขียนทางเทคนิคมีรูปแบบ (Format) เฉพาะตามที่กำหนด มีการใช้ภาษาเขียนที่เป็นทางการ มีความถูกต้อง แม่นยำสูง และผู้อ่านไม่ต้องตีความ ผู้เขียนจึงต้องเข้าใจกระบวนการเขียนทางเทคนิค ซึ่งประกอบด้วย • ความหมาย และขอบเขตของงานเขียนทางเทคนิค • จริยธรรมในการเขียนงานทางเทคนิค และการโจรกรรมทางวรรณกรรม (Plagiarism) • การตั้งวัตถุประสงค์ของงานเขียน การวิเคราะห์พื้นความรู้ของผู้อ่าน และแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการเขียน • โครงสร้างของงานเขียนทางเทคนิค และกระบวนการในการเขียนตั้งแต่เริ่มต้นจนได้เป็นงานเขียนที่สมบูรณ์ • การใช้รูปภาพ ตาราง และกราฟ (Visual Elements) ที่เหมาะสมในงานเขียนทางเทคนิค • การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องในงานเขียนทางเทคนิค • หลักการเขียนเอกสารอ้างอิง • รูปแบบงานเขียนทางเทคนิคประเภทต่าง ๆ เหมาะสำหรับ • นิสิต นักศึกษา ระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ต้องเขียนโครงงานปริญญานิพนธ์ (Senior Project) และวิทยานิพนธ์ (Thesis) • ครู-อาจารย์ ที่ต้องเขียนบทความวิชาการ และนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ • นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และบุคลากรที่ทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ หรือสรุปความก้าวหน้าของโครงการ รวมถึงการเขียนบันทึกเชิงเทคนิค เป็นต้น
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37605
Total holds: 0

“การเขียนทางเทคนิค (Technical Writing)” เป็นทักษะที่สำคัญสำหรับนิสิต นักศึกษา และบุคลากรที่ทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การเขียนทางเทคนิคพบในแบบเสนอโครงการ (Project Proposal) โครงงานปริญญานิพนธ์ (Senior Project) วิทยานิพนธ์ (Thesis) โครงการวิจัย รายงานเชิงเทคนิค บทความวิชาการ ฯลฯ งานเขียนทางเทคนิคแตกต่างจากงานเขียนทั่วไป เนื่องจากงานเขียนทางเทคนิคมีรูปแบบ (Format) เฉพาะตามที่กำหนด มีการใช้ภาษาเขียนที่เป็นทางการ มีความถูกต้อง แม่นยำสูง และผู้อ่านไม่ต้องตีความ ผู้เขียนจึงต้องเข้าใจกระบวนการเขียนทางเทคนิค ซึ่งประกอบด้วย • ความหมาย และขอบเขตของงานเขียนทางเทคนิค • จริยธรรมในการเขียนงานทางเทคนิค และการโจรกรรมทางวรรณกรรม (Plagiarism) • การตั้งวัตถุประสงค์ของงานเขียน การวิเคราะห์พื้นความรู้ของผู้อ่าน และแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการเขียน • โครงสร้างของงานเขียนทางเทคนิค และกระบวนการในการเขียนตั้งแต่เริ่มต้นจนได้เป็นงานเขียนที่สมบูรณ์ • การใช้รูปภาพ ตาราง และกราฟ (Visual Elements) ที่เหมาะสมในงานเขียนทางเทคนิค • การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้องในงานเขียนทางเทคนิค • หลักการเขียนเอกสารอ้างอิง • รูปแบบงานเขียนทางเทคนิคประเภทต่าง ๆ เหมาะสำหรับ • นิสิต นักศึกษา ระดับปริญญาตรีและปริญญาโท ที่ต้องเขียนโครงงานปริญญานิพนธ์ (Senior Project) และวิทยานิพนธ์ (Thesis) • ครู-อาจารย์ ที่ต้องเขียนบทความวิชาการ และนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ • นักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และบุคลากรที่ทำงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ต้องเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ หรือสรุปความก้าวหน้าของโครงการ รวมถึงการเขียนบันทึกเชิงเทคนิค เป็นต้น

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image