Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

ชีวเคมีการตายของเซลล์ และการประยุกต์ทางคลินิก / รัตนา บรรเจิดพงศ์ชัย.

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: นนทบุรี : ธนภัทร, 2562.Description: 562 หน้าISBN:
  • 9786164859104
Other title:
  • Biochemistry of cell death a clinical application
Subject(s): LOC classification:
  • QH671 ร453ช 2562
Online resources:
Contents:
ชนิดการตายและกลไกการตายของเซลล์ (types of Cell Death and Mechanisms of Cell Death) -- กระบวนการออโตฟากีกับการตายแบบออโตฟากี (Autophagy and Autophagic Cell Death) -- กระบวนการตายแบบเน็คคร็อพโทซิส (Necroptosis) -- การตายของเซลล์และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (Cell Death and Endoplasmic Reticulum Stress) -- การตายของเวลล์และภาวะเครียดออกซิเดชัน (Cell Death and Oxidative Stress) -- การตายของเซลล์ในโรคมะเร็ง (Cell Death in Cancer) -- โรคที่เกิดจากความผิดปกติของกระบวนการตายของเซลล์ (Abnormal Cell Death-related Diseases) -- เทคนิคสำหรับศึกษากระบวนการตาย (Techniques for Cell Death Studying)
Summary: หนังสือชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิก เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการตายชนิดต่าง ๆ ของเซลล์ และเน้นเรื่องคุณสมบัติทางชีวเคมีของเซลบ์ที่ตายแบบ อะพอพโทซิส (apoptosis) แบบออโตฟากี (autophagic cell death) และแบบเน็คคร็อพโทซิส (necroptosis) ซึ่งการตายแบบอะพอพโทซิส มีกลไกการตายผ่านทางวิถีภายนอก และวิถีภายในรวมถึงบทบาทของภาวะรีด็อกซ์ ภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum stress) การประยุกต์ใช้ทางคลินิก มีรายละเอียดของโรคอันเนื่องมาจากความผิดปกติในการตายของเซลล์ เช่น การที่เซลล์ตายน้อยเกินไป ได้แก้ โรคมะเร็ง และโรคติดเชื้อ และการตายของเซลล์ที่มีมากเกินไป ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคการเสือมของระบบประสาท โรคตับแข็ง โรคบางชนิดอาจจะพบการตายมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น โรคมะเร็ง การเนี่ยวนำเซลล์มะเร็งโดยสารสมุดนไพร สามารถกระตุ้นให้เซลล์ตายทั้งแบบอะพอพโทซิส แบบออโตฟากี และแบบเน็คคร็อพโทซิสได้ องค์ความรู้ใหม่ในเรื่องชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิกนี้ มีความทันมัย และเป็นปัจจุบัน เนื่องจากได้เอาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากวารสารวิชาการ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานวิจัยของผู้นิพนธ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ โดยใช้เซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงเป็นแบบจำลองในการศึกษา
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37372
Total holds: 0

ชนิดการตายและกลไกการตายของเซลล์ (types of Cell Death and Mechanisms of Cell Death) -- กระบวนการออโตฟากีกับการตายแบบออโตฟากี (Autophagy and Autophagic Cell Death) -- กระบวนการตายแบบเน็คคร็อพโทซิส (Necroptosis) -- การตายของเซลล์และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (Cell Death and Endoplasmic Reticulum Stress) -- การตายของเวลล์และภาวะเครียดออกซิเดชัน (Cell Death and Oxidative Stress) -- การตายของเซลล์ในโรคมะเร็ง (Cell Death in Cancer) -- โรคที่เกิดจากความผิดปกติของกระบวนการตายของเซลล์ (Abnormal Cell Death-related Diseases) -- เทคนิคสำหรับศึกษากระบวนการตาย (Techniques for Cell Death Studying)

หนังสือชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิก เป็นการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการตายชนิดต่าง ๆ ของเซลล์ และเน้นเรื่องคุณสมบัติทางชีวเคมีของเซลบ์ที่ตายแบบ อะพอพโทซิส (apoptosis) แบบออโตฟากี (autophagic cell death) และแบบเน็คคร็อพโทซิส (necroptosis) ซึ่งการตายแบบอะพอพโทซิส มีกลไกการตายผ่านทางวิถีภายนอก และวิถีภายในรวมถึงบทบาทของภาวะรีด็อกซ์ ภาวะเครียดออกซิเดชัน (oxidative stress) และภาวะเครียดร่างแหเอนโดพลาซึม (endoplasmic reticulum stress) การประยุกต์ใช้ทางคลินิก มีรายละเอียดของโรคอันเนื่องมาจากความผิดปกติในการตายของเซลล์ เช่น การที่เซลล์ตายน้อยเกินไป ได้แก้ โรคมะเร็ง และโรคติดเชื้อ และการตายของเซลล์ที่มีมากเกินไป ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคการเสือมของระบบประสาท โรคตับแข็ง โรคบางชนิดอาจจะพบการตายมากกว่าหนึ่งชนิด เช่น โรคมะเร็ง การเนี่ยวนำเซลล์มะเร็งโดยสารสมุดนไพร สามารถกระตุ้นให้เซลล์ตายทั้งแบบอะพอพโทซิส แบบออโตฟากี และแบบเน็คคร็อพโทซิสได้ องค์ความรู้ใหม่ในเรื่องชีวเคมีการตายของเซลล์และการประยุกต์ใช้ทางคลินิกนี้ มีความทันมัย และเป็นปัจจุบัน เนื่องจากได้เอาองค์ความรู้ใหม่ ๆ จากวารสารวิชาการ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนงานวิจัยของผู้นิพนธ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรและโรคมะเร็งชนิดต่าง ๆ โดยใช้เซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงเป็นแบบจำลองในการศึกษา

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image