Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

จริยเศรษฐศาสตร์ / Amartya Sen เขียน ; สฤณี อาชวานันทกุล แปล.

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : ซอลท์, 2562 [2019]Edition: พิมพ์ครั้งแรกDescription: 175 หน้าISBN:
  • 9786169307686
  • 6169307684
Subject(s): LOC classification:
  • HB72 ซ73 2562
Summary: เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เลือดเย็นและเห็นแก่ตัว... หลายคนรู้สึกแบบนั้น เพราะความเชื่อหลักที่หยั่งรากลึกของเศรษฐศาสตร์ทุกวันนี้มักไม่พ้น “มีเพียงการบรรลุประสิทธิภาพสูงสุดเท่านั้นที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สังคม” หรือ “มีเพียงการยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้งเท่านั้น ที่เป็นพฤติกรรมที่มีเหตุมีผล” อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์และนักปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ ตั้งคำถามต่อความเชื่อเหล่านั้น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่าที่เป็นเช่นนั้นเพราะเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันเน้นแต่มิติทางวิศวกรรมศาสตร์ แต่ไม่มีพื้นที่ ให้กับจริยศาสตร์ ทั้งที่ครั้งหนึ่งก็เป็นต้นกำเนิดของเศรษฐศาสตร์เช่นกัน เซนมิได้ปฏิเสธการเน้นกลไกเชิงวิศวกรรมศาสตร์ของเศรษฐศาสตร์ แต่เขาเชื่อว่าหากเราพาจริยศาสตร์กลับมารวมไว้ในเศรษฐศาสตร์ได้ ก็จะทำให้เศรษฐศาสตร์สามารถอธิบายและพยากรณ์พฤติกรรมที่แท้จริงของมนุษย์ได้อย่างแม่นยำมากขึ้น และดังนั้นจึงจะทำให้เศรษฐศาสตร์เป็นประโยชน์มากขึ้นต่อสังคม จริยศาสตร์ไม่มีที่ทางในเศรษฐศาสตร์จริงหรือ การกระที่ยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง 'มีเหตุมีผล' เพราะอะไร การมุ่งเน้นประสิทธิภาพสูงสุด พัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนหรือไม่ และเราเข้าใจคำว่า 'ประสิทธิกภาพ' ตรงกันไหม พบกับการวิเคราะห์ เจาะลึกด้วยวิถีทางปรัชญาใน 'จริยเศรษฐศาสตร์'
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
General Book General Book Kuakarun Nursing Library Processing unit HB72 ซ73 2562 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047415
Total holds: 0

แปลจาก: On ethics and economics / Amartya Sen. 1987.

เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่เลือดเย็นและเห็นแก่ตัว...

หลายคนรู้สึกแบบนั้น เพราะความเชื่อหลักที่หยั่งรากลึกของเศรษฐศาสตร์ทุกวันนี้มักไม่พ้น “มีเพียงการบรรลุประสิทธิภาพสูงสุดเท่านั้นที่จะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่สังคม” หรือ “มีเพียงการยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้งเท่านั้น ที่เป็นพฤติกรรมที่มีเหตุมีผล”

อมาตยา เซน นักเศรษฐศาสตร์และนักปรัชญาผู้ยิ่งใหญ่ ตั้งคำถามต่อความเชื่อเหล่านั้น พร้อมทั้งชี้ให้เห็นว่าที่เป็นเช่นนั้นเพราะเศรษฐศาสตร์ปัจจุบันเน้นแต่มิติทางวิศวกรรมศาสตร์ แต่ไม่มีพื้นที่ ให้กับจริยศาสตร์ ทั้งที่ครั้งหนึ่งก็เป็นต้นกำเนิดของเศรษฐศาสตร์เช่นกัน

เซนมิได้ปฏิเสธการเน้นกลไกเชิงวิศวกรรมศาสตร์ของเศรษฐศาสตร์ แต่เขาเชื่อว่าหากเราพาจริยศาสตร์กลับมารวมไว้ในเศรษฐศาสตร์ได้ ก็จะทำให้เศรษฐศาสตร์สามารถอธิบายและพยากรณ์พฤติกรรมที่แท้จริงของมนุษย์ได้อย่างแม่นยำมากขึ้น และดังนั้นจึงจะทำให้เศรษฐศาสตร์เป็นประโยชน์มากขึ้นต่อสังคม

จริยศาสตร์ไม่มีที่ทางในเศรษฐศาสตร์จริงหรือ การกระที่ยึดประโยชน์ส่วนตนเป็นที่ตั้ง 'มีเหตุมีผล' เพราะอะไร การมุ่งเน้นประสิทธิภาพสูงสุด พัฒนาสังคมอย่างยั่งยืนหรือไม่ และเราเข้าใจคำว่า 'ประสิทธิกภาพ' ตรงกันไหม พบกับการวิเคราะห์ เจาะลึกด้วยวิถีทางปรัชญาใน 'จริยเศรษฐศาสตร์'

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image