Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

การเมืองภาคประชาชน / อุเชนทร์ เชียงเสน.

By: Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : มติชน, 2561.Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 375 หน้า : แผนภูมิ ; 22 ซมISBN:
  • 9789740216308
  • 9740216307
Subject(s): LOC classification:
  • JQ1749.ก15 อ57ก 2561
Online resources:
Contents:
ความคิด ความรู้ และการศึกษาการเมืองภาคประชาชน -- หลังการเมืองแบบฝ่ายซ้าย-พคท. (2524-2534) : การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและความคิดของนักศึกษาปัญญาชนกลุ่มต่างๆ ยุคหลังฝ่ายซ้าย-พคท. -- การเมืองไทยหลักพฤษภา'35 และเครือข่ายนักกิจกรรมทางการเมือง การเมืองแบบเลือกตั้ง ประชาสังคมกับ "การเมืองบนท้องถนน" -- ยุทธศาสตร์การเมืองไทยกับการสถาปนา "การเมืองภาคประชาชน" -- รัฐธรรมนูญ "ฉบับประชาชน" และการทำให้ "การเมืองภาคประชาชน" เป็นสถาบัน -- "การเมืองภาคประชาชน" ของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย
Summary: นำเสนอรากเหง้าของปัญหาบ้านเมืองภายหลังเหตุการณ์ทางการเมือง เชื่อมโยงไปยังจุดเริ่มต้นของวาทกรรม “การเมืองภาคประชาชน” อันหมายถึงกระบวนการของประชาชนที่ตรวจสอบ ถ่วงดุล และคัดค้านแนวนโยบายของรัฐที่มีผลกระทบกับคนส่วนใหญ่ นับแต่การรณรงค์ให้โหวตรับรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 การรวมตัวของขบวนการ “สมัชชาคนจน” รวมถึงการถือกำเนิดของ “คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย”
List(s) this item appears in: politics government การเมือง การปกครอง (update2023)
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37126
Total holds: 0

ความคิด ความรู้ และการศึกษาการเมืองภาคประชาชน -- หลังการเมืองแบบฝ่ายซ้าย-พคท. (2524-2534) : การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและความคิดของนักศึกษาปัญญาชนกลุ่มต่างๆ ยุคหลังฝ่ายซ้าย-พคท. -- การเมืองไทยหลักพฤษภา'35 และเครือข่ายนักกิจกรรมทางการเมือง การเมืองแบบเลือกตั้ง ประชาสังคมกับ "การเมืองบนท้องถนน" -- ยุทธศาสตร์การเมืองไทยกับการสถาปนา "การเมืองภาคประชาชน" -- รัฐธรรมนูญ "ฉบับประชาชน" และการทำให้ "การเมืองภาคประชาชน" เป็นสถาบัน -- "การเมืองภาคประชาชน" ของพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย

นำเสนอรากเหง้าของปัญหาบ้านเมืองภายหลังเหตุการณ์ทางการเมือง เชื่อมโยงไปยังจุดเริ่มต้นของวาทกรรม “การเมืองภาคประชาชน” อันหมายถึงกระบวนการของประชาชนที่ตรวจสอบ ถ่วงดุล และคัดค้านแนวนโยบายของรัฐที่มีผลกระทบกับคนส่วนใหญ่ นับแต่การรณรงค์ให้โหวตรับรัฐธรรมนูญฉบับปี 2540 การรวมตัวของขบวนการ “สมัชชาคนจน” รวมถึงการถือกำเนิดของ “คณะกรรมการรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย”

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image