Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

พิบัติภัย - ภัยพิบัติ ในโลกสมัยใหม่ / โดย : ทวี ชัยพิมลผลิน

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: [เชียงใหม่] : สำนักงานบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2563Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 194 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางISBN:
  • 9786163984586
Other title:
  • Hazard disaster in the modern world
Subject(s): LOC classification:
  • GE146 ท173พ 2563
Online resources:
Contents:
บทที่ 1 บทนำ -- ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฎการณ์ธรรมชาติและมนุษย์ -- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ -- นิยามความหมาย -- การจำแนกประเภทของพิบัติภัย -- ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ -- ความเร็วในการเกิดภัย -- ผลกระทบของประเทศในแถบเอเชีย -- ผลกระทบต่อการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ -- เกณฑ์ในการพิจารณาระดับอันตราย -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 2 พิบัติภัยและภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากแผ่นเปลือกโลก -- แผ่นดินไหว (Earthquake) -- ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก -- ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) -- คลื่นแผ่นดินไหว -- วิธีการคำนวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว -- เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงระดับโลก -- แผ่นดินไหวในประเทศไทย -- คลื่นสึนามิ (Tsunami) -- ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสูงของคลื่น -- สาเหตุและสัญญาณการเกิดคลื่นสึนามิ -- ประเทศไทยกับสีนามิ -- ภูเขาไฟระเบิด (Volcano eruption) -- การแบ่งประเภทภูเขาไฟจากรูปร่าง -- แบ่งตามลักษณะการระเบิด (Eruptions) -- แบ่งตามความรุนแรงของการระเบิด (Levels) -- แบ่งตามลักษณะประวัติการระเบิด (Histories) -- เศษหินที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ (Pyroclastic debris) -- ประเภทลาวา -- Supervolcanos -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 3 พิบัติภัยและภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากภูมิสัณฐาน -- อุทกภัย (Flood) -- ประเภทของอุทกภัยและปัจจัยการเกิดอุทกภัย -- อุทกภัยในประเทศไทย -- ค่าปริมาณน้ำฝนและอุทกภัย -- การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิประเทศที่เกิดจากอุทกภัย -- ดินถล่ม (Landslide) -- ชนิดของดินถล่ม -- กระบวนและปัจจัยการเกิดดินถล่ม -- ลักษณะพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มและสัญญาณการเกิดดินถล่ม -- ดินถล่มในประเทศไทย -- การเกิดดินถล่มในต่างประเทศ -- หิมะถล่ม (Avalanches) -- หลุมยุบ (Sinkhole) -- ปัจจัยการเกิดหลุมยุบ -- ตัวอย่างหลุมยุบที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ และหลุมยุบในประเทศไทย -- ข้อสังเกตก่อนการเกิดหลุมยุบ และข้อปฏิบัติเมื่อเกิดหลุมยุบ -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 4 ภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากบรรยากาศ -- วาตภัย (Storm) -- พายุหมุนเขตร้อน -- พายุฟ้าคะนอง -- ภัยแล้ง (Drought) -- ภัยแล้งในประเทศไทย -- สาเหตุและหลักเกณฑ์การพิจารณาภัยแล้ง -- คลื่นความร้อน (Heat wave) -- หมอกควัน (Smoke) -- ปัญหาหมอกควันประเทศไทย -- ทอร์นาโด (Tornado) -- พายุหิมะ (Blizzards/Snowstorms) -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 5 ภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากระบบนิเวศ -- ไฟป่า (Wildfire) -- องค์ประกอบและประเภทของไฟป่า -- เหตุการณ์ไฟป่าทั่วโลก -- อิทธิพลไฟป่า -- การดับและการป้องกันไฟป่า -- การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal erosion) -- สาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ง -- ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 6 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภัยพิบัติมนุษย์และเทคโนโลยี -- ภัยจากวัตถุระเบิด -- ภัยก่อการร้าย -- ภัยจากสารกัมมันตรังสีและสารเคมี -- ภัยจากรถจักรยานยนต์ รถยนต์ และเรือ -- ภัยจากจักรยานยนต์ -- ภัยจากรถยนต์ -- การขับขี่ -- วิธีการสตาร์ตรถเมื่อแบตเตอรี่ไม่มีกระแสไฟฟ้า -- กฎหมายขับขี่ที่ควรรู้ -- ภัยทางเรือ -- อัคคีภัย -- ภัยพิบัติประเภทอื่นๆ -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 7 วัฏจักรภัยพิบัติ -- การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ -- การดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติทางกายภาพ -- การดำเนินการทางนโยบาย -- กรณีศึกษา -- ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ -- การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ -- กระบวนการเตรียมความพร้อม -- สิ่งที่ควรทำเมื่อเกิดภัยพิบัติและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย -- สิ่งที่ควรปฏิบัติขณะเกิดภัยพิบัติ -- กระบวนการจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานราชการ -- การฟื้นฟู -- ประเภท ขั้นตอนและการพิจารณาดำเนินการฟื้นฟู -- การฟื้นฟูสภาพจิตใจและปัญหาในการฟื้นฟู -- เอกสารอ้างอิง
บทที่ 8 การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการภัยพิบัติ -- ภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics) -- การรับรู้ระยะไกล -- ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ -- ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก -- อากาศยานไร้คนขับ -- แบบจำลองสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วม -- แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network Model) -- การออกแบบแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม -- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับภัยพิบัติ -- แผ่นดินไหว -- สึนามิ -- อุทกภัย -- ดินถล่ม -- ดินทรุด -- ภัยแล้ง -- ไฟป่า และหมอกควัน -- กัดเซาะชายฝั่ง -- ประเมินความเสียหายจากเหตุการณ์โกดังเก็บดอกไม้ไฟระเบิด -- ประเมินความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติ -- เอกสารอ้างอิง
Summary: พิบัติภัย เมื่อก่อให้เกิดผลกระทบจะกลายเป็น ภัยพิบัติ เข้าใจพิบัติภัยประเภทต่างๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีในโลกสมัยใหม่เรียนรู้สิ่งที่ควรปฏิบัติเมื่อเกิดภัยพิบัติเพื่อความปลอดภัย
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds Course reserves
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37633

ภัยพิบัติศึกษา

อุทกภัย โคลานถล่ม และวาตภัย

แผ่นดินไหวและผลกระทบ

Total holds: 0

บทที่ 1 บทนำ -- ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฎการณ์ธรรมชาติและมนุษย์ -- ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ -- นิยามความหมาย -- การจำแนกประเภทของพิบัติภัย -- ผลกระทบจากภัยธรรมชาติ -- ความเร็วในการเกิดภัย -- ผลกระทบของประเทศในแถบเอเชีย -- ผลกระทบต่อการสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ -- เกณฑ์ในการพิจารณาระดับอันตราย -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 2 พิบัติภัยและภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากแผ่นเปลือกโลก -- แผ่นดินไหว (Earthquake) -- ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก -- ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) -- คลื่นแผ่นดินไหว -- วิธีการคำนวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว -- เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงระดับโลก -- แผ่นดินไหวในประเทศไทย -- คลื่นสึนามิ (Tsunami) -- ปัจจัยที่ทำให้เกิดความสูงของคลื่น -- สาเหตุและสัญญาณการเกิดคลื่นสึนามิ -- ประเทศไทยกับสีนามิ -- ภูเขาไฟระเบิด (Volcano eruption) -- การแบ่งประเภทภูเขาไฟจากรูปร่าง -- แบ่งตามลักษณะการระเบิด (Eruptions) -- แบ่งตามความรุนแรงของการระเบิด (Levels) -- แบ่งตามลักษณะประวัติการระเบิด (Histories) -- เศษหินที่เกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟ (Pyroclastic debris) -- ประเภทลาวา -- Supervolcanos -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 3 พิบัติภัยและภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากภูมิสัณฐาน -- อุทกภัย (Flood) -- ประเภทของอุทกภัยและปัจจัยการเกิดอุทกภัย -- อุทกภัยในประเทศไทย -- ค่าปริมาณน้ำฝนและอุทกภัย -- การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิประเทศที่เกิดจากอุทกภัย -- ดินถล่ม (Landslide) -- ชนิดของดินถล่ม -- กระบวนและปัจจัยการเกิดดินถล่ม -- ลักษณะพื้นที่ที่มีโอกาสเกิดดินถล่มและสัญญาณการเกิดดินถล่ม -- ดินถล่มในประเทศไทย -- การเกิดดินถล่มในต่างประเทศ -- หิมะถล่ม (Avalanches) -- หลุมยุบ (Sinkhole) -- ปัจจัยการเกิดหลุมยุบ -- ตัวอย่างหลุมยุบที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติ และหลุมยุบในประเทศไทย -- ข้อสังเกตก่อนการเกิดหลุมยุบ และข้อปฏิบัติเมื่อเกิดหลุมยุบ -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 4 ภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากบรรยากาศ -- วาตภัย (Storm) -- พายุหมุนเขตร้อน -- พายุฟ้าคะนอง -- ภัยแล้ง (Drought) -- ภัยแล้งในประเทศไทย -- สาเหตุและหลักเกณฑ์การพิจารณาภัยแล้ง -- คลื่นความร้อน (Heat wave) -- หมอกควัน (Smoke) -- ปัญหาหมอกควันประเทศไทย -- ทอร์นาโด (Tornado) -- พายุหิมะ (Blizzards/Snowstorms) -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 5 ภัยพิบัติธรรมชาติที่เกิดจากระบบนิเวศ -- ไฟป่า (Wildfire) -- องค์ประกอบและประเภทของไฟป่า -- เหตุการณ์ไฟป่าทั่วโลก -- อิทธิพลไฟป่า -- การดับและการป้องกันไฟป่า -- การกัดเซาะชายฝั่ง (Coastal erosion) -- สาเหตุการกัดเซาะชายฝั่ง -- ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งในประเทศไทย -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 6 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภัยพิบัติมนุษย์และเทคโนโลยี -- ภัยจากวัตถุระเบิด -- ภัยก่อการร้าย -- ภัยจากสารกัมมันตรังสีและสารเคมี -- ภัยจากรถจักรยานยนต์ รถยนต์ และเรือ -- ภัยจากจักรยานยนต์ -- ภัยจากรถยนต์ -- การขับขี่ -- วิธีการสตาร์ตรถเมื่อแบตเตอรี่ไม่มีกระแสไฟฟ้า -- กฎหมายขับขี่ที่ควรรู้ -- ภัยทางเรือ -- อัคคีภัย -- ภัยพิบัติประเภทอื่นๆ -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 7 วัฏจักรภัยพิบัติ -- การป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ -- การดำเนินการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติทางกายภาพ -- การดำเนินการทางนโยบาย -- กรณีศึกษา -- ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ -- การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบัติ -- กระบวนการเตรียมความพร้อม -- สิ่งที่ควรทำเมื่อเกิดภัยพิบัติและการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย -- สิ่งที่ควรปฏิบัติขณะเกิดภัยพิบัติ -- กระบวนการจัดการภาวะฉุกเฉินสำหรับหน่วยงานราชการ -- การฟื้นฟู -- ประเภท ขั้นตอนและการพิจารณาดำเนินการฟื้นฟู -- การฟื้นฟูสภาพจิตใจและปัญหาในการฟื้นฟู -- เอกสารอ้างอิง

บทที่ 8 การใช้เทคโนโลยีเพื่อการจัดการภัยพิบัติ -- ภูมิสารสนเทศ (Geoinformatics) -- การรับรู้ระยะไกล -- ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ -- ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก -- อากาศยานไร้คนขับ -- แบบจำลองสำหรับการพยากรณ์น้ำท่วม -- แบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network Model) -- การออกแบบแบบจำลองโครงข่ายประสาทเทียม -- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสำหรับภัยพิบัติ -- แผ่นดินไหว -- สึนามิ -- อุทกภัย -- ดินถล่ม -- ดินทรุด -- ภัยแล้ง -- ไฟป่า และหมอกควัน -- กัดเซาะชายฝั่ง -- ประเมินความเสียหายจากเหตุการณ์โกดังเก็บดอกไม้ไฟระเบิด -- ประเมินความเสี่ยงภัยพิบัติธรรมชาติ -- เอกสารอ้างอิง

พิบัติภัย เมื่อก่อให้เกิดผลกระทบจะกลายเป็น ภัยพิบัติ เข้าใจพิบัติภัยประเภทต่างๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและมนุษย์ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีในโลกสมัยใหม่เรียนรู้สิ่งที่ควรปฏิบัติเมื่อเกิดภัยพิบัติเพื่อความปลอดภัย

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image