Local cover image
Local cover image

การวัดศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสง : กรณีศึกษารายจังหวัดของประเทศไทย = LIGHT POLLUTING POWER MEASURES : A CASE STUDY OF PROVINCES IN THAILAND

By: Material type: TextTextSeries: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมืองPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2563.Description: 148 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): LOC classification:
  • วพ QB51.3.L53 ธ151ก 2563
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2563 Summary: ปัญหามลภาวะทางแสงส่งผลต่อสุขภาพของผู้คนและระบบนิเวศ ซึ่งเป็นผลทางอ้อมจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ งานวิจัยชื้นนี้ได้ศึกษาระดับแสงไฟกลางคืนในแต่ละจังหวัดด้วยภาพถ่ายดาวเทียมในช่วง พ.ศ. 2556 ถึง 2561 โดยเปรียบเทียบกับจํานวนประชากร ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) การใช้ไฟฟ้า และจํานวนผู้มีงานทํา จากนั้นจึงคัดเลือกปัจจัยที่ส่งผลต่อมลภาวะทางแสงด้วยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์จากสมการการถดถอยแบบพหุคูณ โดยได้เลือกแสงสว่างเฉลี่ยต่อพื้นที่ที่มีแสงแสงสว่างต่อประชากร แสงสว่างต่อรายได้ประชากรในจังหวัด และแสงสว่างต่อการใช้ไฟฟ้ามาจัดอันดับ และจัดอันดับรวมเพื่อวัดศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงของแต่ละจังหวัด ผลการศึกษาพบว่า แสงสว่างกลางคืนเฉลี่ยของประเทศไทยอยู่ระหว่าง 0.92-1.72 nanoWatts/cm2/sr โดยจังหวัดชลบุรีและนครศรีธรรมราชเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงต่ําสุด และแม่ฮ่องสอนและนครนายกอยู่ในอันดับที่สูงสุด ซึ่งกรุงเทพมหานครมีอันดับแสงสว่างเฉลี่ยสูงสุดและแสงสว่างต่อรายได้ต่ําที่สุดของประเทศ ข้อค้นพบนี้อาจใช้เป็นแนวทางในการวัดศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงรายจังหวัดเพื่อการจัดการมลภาวะทางแสงของประเทศไทย
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit วพ QB51.3.L53 ธ151ก 2563 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047610
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit Available eb37304
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2563

ปัญหามลภาวะทางแสงส่งผลต่อสุขภาพของผู้คนและระบบนิเวศ ซึ่งเป็นผลทางอ้อมจากการเติบโตทางเศรษฐกิจ งานวิจัยชื้นนี้ได้ศึกษาระดับแสงไฟกลางคืนในแต่ละจังหวัดด้วยภาพถ่ายดาวเทียมในช่วง พ.ศ. 2556 ถึง 2561 โดยเปรียบเทียบกับจํานวนประชากร ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) การใช้ไฟฟ้า และจํานวนผู้มีงานทํา จากนั้นจึงคัดเลือกปัจจัยที่ส่งผลต่อมลภาวะทางแสงด้วยการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์จากสมการการถดถอยแบบพหุคูณ โดยได้เลือกแสงสว่างเฉลี่ยต่อพื้นที่ที่มีแสงแสงสว่างต่อประชากร แสงสว่างต่อรายได้ประชากรในจังหวัด และแสงสว่างต่อการใช้ไฟฟ้ามาจัดอันดับ และจัดอันดับรวมเพื่อวัดศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงของแต่ละจังหวัด ผลการศึกษาพบว่า แสงสว่างกลางคืนเฉลี่ยของประเทศไทยอยู่ระหว่าง 0.92-1.72 nanoWatts/cm2/sr โดยจังหวัดชลบุรีและนครศรีธรรมราชเป็นจังหวัดที่มีศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงต่ําสุด และแม่ฮ่องสอนและนครนายกอยู่ในอันดับที่สูงสุด ซึ่งกรุงเทพมหานครมีอันดับแสงสว่างเฉลี่ยสูงสุดและแสงสว่างต่อรายได้ต่ําที่สุดของประเทศ ข้อค้นพบนี้อาจใช้เป็นแนวทางในการวัดศักยภาพการก่อมลภาวะทางแสงรายจังหวัดเพื่อการจัดการมลภาวะทางแสงของประเทศไทย

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image