Amazon cover image
Image from Amazon.com

ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดูแลเท้าและสภาพเท้าของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดไม่พึ่งอินซูลิน = Factors related to foot care and foot appearance in non-insulin-dependent diabetic patients / นงลักษณ์ นฤวัตร

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล, 2533Description: ก-ช, 77 หน้า : ตาราง, แผนภูมิ ; 29 ซมISBN:
  • 9745868221
Subject(s): NLM classification:
  • วพ WK810
Contents:
บทที่ 1 บทนำและกรอบทฤษฎี -- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -- กรอบทฤษฎี -- วัตถุประสงค์ของการวิจัย -- สมมติฐานการวิจัย -- ขอบเขตของการวิจัย -- ช้อตกลงเบื้องต้น -- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย -- นิยามตัวแปร
บทที่ 2 วรรถรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวซ้อง
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย -- ลักษณะของประ ชากร และการเลือกกลุ่มตัวอย่าง -- ลักษณะเครื่องมือ -- การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ -- การเก็บรวบรวมข้อมูล -- การวิเคราะห์ข้อมูล
บทที่ 4 ผลการวิจัยและการอภิปรายผลการวิจัย -- ผลการวิจัย -- การอภิปรายผล -- ข้อจำกัดในการวิจัย
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ -- สรุปผลการวิจัย -- ข้อเสนอแนะ
Summary: การดูแลเท้ามีความสำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อดำรงไว้ซึ่งโครงสร้างและการทำหน้าที่ที่เป็นปกติของเท้า การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานอาจเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานของบุคคล การวิจัยครั้งนี้จึงได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดังกล่าวกับการดูแลเท้าและสภาพเท้าในผู้ป่วย เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ปัจจัยพื้นฐานที่เลือกมาศึกษาได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวาน ประสบการณ์การเกิดแผลและความผิดปกติของเท้าที่เกิดจากโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่มารับการรักษาในคลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล จำนาน 200 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ประเมินการดูแลเท้า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยความต้องการการดูแลตนเองตามภาวะ เบี่ยงเบนทางสุขภาพในทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเรมและเครื่องมือที่ใช้ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของเอเวอร์และคณะ (1981 ) เป็นแนวทางแบบประเมินสภาพเท้าและแบบประเมินความผิดปกติของเท้าผู้วิจัยเป็นผู้สร้างขึ้นเองSummary: ผลการวิจัยพบว่าอาชีพมีความสัมพันธ์กับการดูแลเท้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.18, p=.01) อาชีพและประสบการณ์การเกิดแผลมีความสัมพันธ์กับสภาพเท้าอย่างมีนัยสำคัญ (r=.14, r=-.15, p<.05) และเมื่อปัจจัยพื้นฐานทั้งหมดเข้าสมการถดถอยพยุดูณแบบมีขั้นตอน พบว่าอาชีพเพียงตัวเดียวที่สามารถทำนายการดูแลเท้าได้อย่างมีนัยสำคัยทางสถิติ ได้ร้อยละ 3.3 และประสบการณ์การเกิดแผลก็เป็นปัจจัยเดียวที่สามารถทำนายสภาพเท้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้ร้อยละ 2.2
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Copy number Status Date due Barcode Item holds
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Main Area วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.1 Barcode damaged 0000007382
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Main Area วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.2 Available 0000007385
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Main Area วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.3 Barcode damaged 0000002923
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Main Area วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.4 Available 0000022654
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Main Area วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.5 Available 0000026506
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WK810 น2ป 2533 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.6 Available A0000000583
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพยาบาลศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2533

บรรณานุกรมและภาคผนวกท้ายเล่ม

บทที่ 1 บทนำและกรอบทฤษฎี -- ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา -- กรอบทฤษฎี -- วัตถุประสงค์ของการวิจัย -- สมมติฐานการวิจัย -- ขอบเขตของการวิจัย -- ช้อตกลงเบื้องต้น -- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย -- นิยามตัวแปร

บทที่ 2 วรรถรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวซ้อง

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย -- ลักษณะของประ ชากร และการเลือกกลุ่มตัวอย่าง -- ลักษณะเครื่องมือ -- การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ -- การเก็บรวบรวมข้อมูล -- การวิเคราะห์ข้อมูล

บทที่ 4 ผลการวิจัยและการอภิปรายผลการวิจัย -- ผลการวิจัย -- การอภิปรายผล -- ข้อจำกัดในการวิจัย

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ -- สรุปผลการวิจัย -- ข้อเสนอแนะ

การดูแลเท้ามีความสำคัญและเป็นส่วนหนึ่งของการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อดำรงไว้ซึ่งโครงสร้างและการทำหน้าที่ที่เป็นปกติของเท้า การดูแลเท้าของผู้ป่วยเบาหวานอาจเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐานของบุคคล การวิจัยครั้งนี้จึงได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดังกล่าวกับการดูแลเท้าและสภาพเท้าในผู้ป่วย เบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ปัจจัยพื้นฐานที่เลือกมาศึกษาได้แก่ เพศ อายุ อาชีพ ระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวาน ประสบการณ์การเกิดแผลและความผิดปกติของเท้าที่เกิดจากโรคเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่มารับการรักษาในคลินิกโรคเบาหวาน โรงพยาบาลวชิรพยาบาล จำนาน 200 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างอย่างเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ประเมินการดูแลเท้า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยอาศัยความต้องการการดูแลตนเองตามภาวะ เบี่ยงเบนทางสุขภาพในทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเรมและเครื่องมือที่ใช้ประเมินความสามารถในการดูแลตนเองของเอเวอร์และคณะ (1981 ) เป็นแนวทางแบบประเมินสภาพเท้าและแบบประเมินความผิดปกติของเท้าผู้วิจัยเป็นผู้สร้างขึ้นเอง

ผลการวิจัยพบว่าอาชีพมีความสัมพันธ์กับการดูแลเท้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.18, p=.01) อาชีพและประสบการณ์การเกิดแผลมีความสัมพันธ์กับสภาพเท้าอย่างมีนัยสำคัญ (r=.14, r=-.15, p<.05) และเมื่อปัจจัยพื้นฐานทั้งหมดเข้าสมการถดถอยพยุดูณแบบมีขั้นตอน พบว่าอาชีพเพียงตัวเดียวที่สามารถทำนายการดูแลเท้าได้อย่างมีนัยสำคัยทางสถิติ ได้ร้อยละ 3.3 และประสบการณ์การเกิดแผลก็เป็นปัจจัยเดียวที่สามารถทำนายสภาพเท้าได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้ร้อยละ 2.2

There are no comments on this title.

to post a comment.