การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัยของอาจารย์พยาบาลเพื่อยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาพยาบาล = The development program to enhance research competency for nursing instructors to improve the quality of education of nursing educational institution / อรุณี เฮงยศมาก

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2562Description: 275 หน้า : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซมSubject(s): NLM classification:
  • วพ WY20.5
Contents:
บทนำ -- เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -- วิธีดำเนินการวิจัย -- ผลการวิเคราะห์ข้อมูล -- สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
Summary: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้าง รวมทั้งประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัยของอาจารย์พยาบาลเพื่อยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาพยาบาล การวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ในการวิจัยระยะที่ 1 ออกแบบและสร้างโปรแกรม ประกอบด้วย 1) การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพกับผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นอาจารย์พยาบาลผู้มีประสบการณ์ด้านการวิจัยสูง 9 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และใช้วิธีการเนื้อหา 2) การประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสมสมรรถนะการทำวิจัย เก็บข้อมูลกับอาจารย์พยาบาลน่งทางวิซาการ 50 คน ด้วยแบบประเมินความต้องการจำเป็น และวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็นออกแบบและสร้างร่างโปรแกรม โดยใช้ช้อมูลที่ได้จาก ข้อ1 และ 2 ร่วมกับแนวคิดการจัดการความรู้ (KM) การเรียนรู้แบบเกลียวความรู้ (SECI model) และการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) และในการวิจัยระยะที่ 2 ประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์พยาบาล 14 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ โปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัย และแบบประเมินสมรรถะการทำวิจัย ซึ่งประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย 2) แบบวัดทัศนคติต่อการทำวิจัย 3) แบบวัดทักษะการทำวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้สถิติทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางสู่ความสำเร็จในการส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัย ได้แก่ การมีที่ปรึกษาเพี่เลี้ยง การบริหารเวลา การพัฒนาความรู้และทักษะการทำวิจัย และการสร้างเครื่อข่ายการวิจัย ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการทำวิจัย ได้แก่ ภาระงานมากเหนื่อยล้า การขาดแรงจูงใจ การขออนุมัติจริยธรรมในมนุษย์ใช้เวลานาน การขาดการสนับสนุนในด้านบริหารจัดการภายในหน่วยงาน บรรยากาศไม่เอื้ออำนวย และการขาดทักษะในการสืบค้นข้อมูล 2) ความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัยในด้านการสร้างเครื่องมีอวิจัยมีความต้องการจำเป็นการในส่งเสริมมากที่สุด และ 3) ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม อาจารย์พยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการทำวิจัยโดยรวมและรายด้านทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย ทัศนคติต่อการทำวิจัย และทักษะการทำวิจัยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (=21.88) ผลการศึกษาครั้งนี้จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาอาจารย์พยาบาลให้มีศักยภาพในการทำวิจัยเพื่อยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษา ของสถาบันการศึกษาพยาบาล
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Copy number Status Date due Barcode Item holds
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WY20.5 อ419ก 2562 (Browse shelf(Opens below)) Available A0000000616
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WY20.5 อ419ก 2562 (Browse shelf(Opens below)) ฉ.2 Available A0000000617
Total holds: 0

ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2562

บทนำ -- เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง -- วิธีดำเนินการวิจัย -- ผลการวิเคราะห์ข้อมูล -- สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบและสร้าง รวมทั้งประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัยของอาจารย์พยาบาลเพื่อยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาพยาบาล การวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 ระยะ ในการวิจัยระยะที่ 1 ออกแบบและสร้างโปรแกรม ประกอบด้วย 1) การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพกับผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นอาจารย์พยาบาลผู้มีประสบการณ์ด้านการวิจัยสูง 9 คน ด้วยแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง และใช้วิธีการเนื้อหา 2) การประเมินความต้องการจำเป็นในการส่งเสมสมรรถนะการทำวิจัย เก็บข้อมูลกับอาจารย์พยาบาลน่งทางวิซาการ 50 คน ด้วยแบบประเมินความต้องการจำเป็น และวิเคราะห์หาค่าดัชนีความต้องการจำเป็นออกแบบและสร้างร่างโปรแกรม โดยใช้ช้อมูลที่ได้จาก ข้อ1 และ 2 ร่วมกับแนวคิดการจัดการความรู้ (KM) การเรียนรู้แบบเกลียวความรู้ (SECI model) และการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) และในการวิจัยระยะที่ 2 ประเมินประสิทธิผลของโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์พยาบาล 14 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ คือ โปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัย และแบบประเมินสมรรถะการทำวิจัย ซึ่งประกอบด้วย 1) แบบทดสอบวัดความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย 2) แบบวัดทัศนคติต่อการทำวิจัย 3) แบบวัดทักษะการทำวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการใช้สถิติทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 1 กลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางสู่ความสำเร็จในการส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัย ได้แก่ การมีที่ปรึกษาเพี่เลี้ยง การบริหารเวลา การพัฒนาความรู้และทักษะการทำวิจัย และการสร้างเครื่อข่ายการวิจัย ส่วนปัญหาและอุปสรรคในการทำวิจัย ได้แก่ ภาระงานมากเหนื่อยล้า การขาดแรงจูงใจ การขออนุมัติจริยธรรมในมนุษย์ใช้เวลานาน การขาดการสนับสนุนในด้านบริหารจัดการภายในหน่วยงาน บรรยากาศไม่เอื้ออำนวย และการขาดทักษะในการสืบค้นข้อมูล 2) ความต้องการจำเป็นในการส่งเสริมสมรรถนะการทำวิจัยในด้านการสร้างเครื่องมีอวิจัยมีความต้องการจำเป็นการในส่งเสริมมากที่สุด และ 3) ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรม อาจารย์พยาบาลมีคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะการทำวิจัยโดยรวมและรายด้านทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับการทำวิจัย ทัศนคติต่อการทำวิจัย และทักษะการทำวิจัยสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ ร้อยละ 60 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (=21.88) ผลการศึกษาครั้งนี้จึงเป็นแนวทางในการพัฒนาอาจารย์พยาบาลให้มีศักยภาพในการทำวิจัยเพื่อยกระดับการประกันคุณภาพการศึกษา ของสถาบันการศึกษาพยาบาล

There are no comments on this title.

to post a comment.