Local cover image
Local cover image

ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพต่อความรู้และทักษะของพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว

By: Material type: TextTextSeries: พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุPublication details: กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 2565Subject(s): NLM classification:
  • วพ WF 26
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2565 Summary: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพต่อความรู้และทักษะของพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะการหายใจล้มเหลว ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม และหอผู้ป่วยหนักทางเดินหายใจโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 30 ราย และผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ จำนวน 72 ราย กลุ่มทดลอง 36 คน กลุ่มควบคุม 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพและผู้ป่วย แบบประเมินความรู้และทักษะของพยาบาลวิชาชีพในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและ โปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพ ค่า CVI เท่ากับ .77, .79, และ.75 ตามลำดับ ค่า Cronbach's Alphaของ แบบประเมินความรู้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบประเมินทักษะในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เท่ากับ .77, และ 78 ตามล าดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติทดสอบแบบที ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับโปรแกรมฯมีคะแนนเฉลี่ยความรู้และทักษะในการหย่าเครื่องช่วยหายใจสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ระยะเวลาในการหย่าเครื่องช่วยหายใจภายหลังพยาบาลได้รับโปรแกรมน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯและความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจภายหลังพยาบาลได้รับโปรแกรมฯสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WF 26 พ621 2565 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000049539
Total holds: 0
Browsing Kuakarun Nursing Library shelves Close shelf browser (Hides shelf browser)
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
No cover image available
วพ WE 348 ด699ผ 2561 ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อความรุนแรงของโรคและพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมในชุมชน = Effects of educative supportive nursing program on diseases severity and self care among older adults with osteoarthritis in a community in mahasarakham province วพ WE 755 J6c 2001 The Effeets of health promotion program on pain level and disability in low back pain patieats. วพ WE 755 J6c 2001 The Effeets of health promotion program on pain level and disability in low back pain patieats. วพ WF 26 พ621 2565 ผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพต่อความรู้และทักษะของพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลว วพ WG 300 ป164ป 2556 ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตที่สัมพันธ์กับภาวะสุขภาพของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน = Factors Influencing Health - Related Quality of Life in Patients with Acute Myocardial Infarction วพ WG 330 ก65 2565 ผลของโปรแกรมการจัดการตนเอง ของบุคคลและครอบครัวด้านการออกกําลังกายต่อความสามารถ ในการออกกําลังกายของผู้สูงอายุภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ วพ WG 330 ณ785 2565 ผลของโปรแกรมส่งเสริมความเชื่อด้านสุขภาพในการรับประทาน ยาต้านเกล็ดเลือด ต่อความร่วมมือในการรับประทานยาของผู้ป่วย หลังได้รับการขยายหลอดเลือดโคโรนารี

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2565

การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพต่อความรู้และทักษะของพยาบาลในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยภาวะการหายใจล้มเหลว ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม และหอผู้ป่วยหนักทางเดินหายใจโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 30 ราย และผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจ จำนวน 72 ราย กลุ่มทดลอง 36 คน กลุ่มควบคุม 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพและผู้ป่วย แบบประเมินความรู้และทักษะของพยาบาลวิชาชีพในการหย่าเครื่องช่วยหายใจและ โปรแกรมการส่งเสริมความสามารถของพยาบาลวิชาชีพ ค่า CVI เท่ากับ .77, .79, และ.75 ตามลำดับ ค่า Cronbach's Alphaของ แบบประเมินความรู้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ และแบบประเมินทักษะในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ เท่ากับ .77, และ 78 ตามล าดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และสถิติทดสอบแบบที
ผลการวิจัย พบว่า พยาบาลวิชาชีพที่ได้รับโปรแกรมฯมีคะแนนเฉลี่ยความรู้และทักษะในการหย่าเครื่องช่วยหายใจสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ระยะเวลาในการหย่าเครื่องช่วยหายใจภายหลังพยาบาลได้รับโปรแกรมน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯและความสำเร็จในการหย่าเครื่องช่วยหายใจภายหลังพยาบาลได้รับโปรแกรมฯสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image