Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการบำบัดน้ำเสียและนำกลับคืนทรัพยากร / เบญจพร สุวรรณศิลป์

By: Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 392 หน้า : ภาพประกอบISBN:
  • 9786165932325
Subject(s): LOC classification:
  • TD745 บ783ท 2565
Online resources:
Contents:
ส่วนที่ 1 ความรู้พื้นฐาน -- น้ำเสีย การบำบัดน้ำเสีย และการนำกลับคืนทรัพยากร -- จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อมและกระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ -- ปริมาณสัมพันธ์ของกระบวนการทางชีวภาพ -- อัตราการเกิดปฏิกิริยาของกระบวนการจุลชีพและประเภทของปฏิกรณ์
ส่วนที่ 2 กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ -- กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ -- กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบไมใช้อากาศ -- การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสทางชีวภาพ
ส่วนที่ 3 เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย -- การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ -- การนำกลับคืนพลังงานจากน้ำเสียโดยเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพ -- การผลิตพลาสติกชีวภาพจากน้ำเสีย -- การนำกลับคืนธาตุอาหารจากน้ำเสีย
Summary: ระบบบำบัดน้ำเสียจัดเป็นระบบสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับสังคมมนุษย์ ซึ่งสามารถช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคทางน้ำและป้องกันปัญหามลพิษทางน้ำ เทคโนโลยีชีวภาพนับเป็นเทคโนโลยีสำคัญที่นำมาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายสำหรับการบำบัดน้ำเสีย อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากหน้าที่หลักในการบำบัดน้ำเสียแล้ว เทคโนโลยีชีวภาพยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy) ซึ่งจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต ในน้ำเสียนั้นแท้จริงแล้วมีทรัพยากรหลากหลายที่สามารถนำกลับคืนได้ เช่น 1) น้ำสำหรับการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ 2) พลังงาน เช่น ก๊าซชีวภาพหรือกระแสไฟฟ้า 3) ธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส และ4) วัสดุและสารเคมี เช่น พลาสติกชีวภาพ เป็นต้น ในปัจจุบันมุมมองต่อโรงบำบัดน้ำเสีย (wastewater treatment plants, WWTPs) จึงเริ่มเปลี่ยนเป็นโรงนำกลับคืนน้ำและทรัพยากร (water and resource recovery facility, WRRFs) หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการบำบัดน้ำเสียและการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย โดยผู้เขียนได้ผนวกรวมประสบการณ์จากการทำงานวิจัยด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสียมามากกว่า 10 ปี ไว้ในหนังสือเล่มนี้
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds Course reserves
General Book General Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37897

การฝึกปฏิบัติการจัดการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในสถานพยาบาล

Total holds: 0

ส่วนที่ 1 ความรู้พื้นฐาน -- น้ำเสีย การบำบัดน้ำเสีย และการนำกลับคืนทรัพยากร -- จุลชีววิทยาสิ่งแวดล้อมและกระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ -- ปริมาณสัมพันธ์ของกระบวนการทางชีวภาพ -- อัตราการเกิดปฏิกิริยาของกระบวนการจุลชีพและประเภทของปฏิกรณ์

ส่วนที่ 2 กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ -- กระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์ -- กระบวนการบำบัดน้ำเสียแบบไมใช้อากาศ -- การกำจัดไนโตรเจนและฟอสฟอรัสทางชีวภาพ

ส่วนที่ 3 เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย -- การนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ -- การนำกลับคืนพลังงานจากน้ำเสียโดยเซลล์เชื้อเพลิงจุลชีพ -- การผลิตพลาสติกชีวภาพจากน้ำเสีย -- การนำกลับคืนธาตุอาหารจากน้ำเสีย

ระบบบำบัดน้ำเสียจัดเป็นระบบสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับสังคมมนุษย์ ซึ่งสามารถช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของโรคทางน้ำและป้องกันปัญหามลพิษทางน้ำ เทคโนโลยีชีวภาพนับเป็นเทคโนโลยีสำคัญที่นำมาประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายสำหรับการบำบัดน้ำเสีย อย่างไรก็ตาม นอกเหนือจากหน้าที่หลักในการบำบัดน้ำเสียแล้ว เทคโนโลยีชีวภาพยังสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน (circular economy) ซึ่งจะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาการขาดแคลนทรัพยากรที่มีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต ในน้ำเสียนั้นแท้จริงแล้วมีทรัพยากรหลากหลายที่สามารถนำกลับคืนได้ เช่น 1) น้ำสำหรับการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ 2) พลังงาน เช่น ก๊าซชีวภาพหรือกระแสไฟฟ้า 3) ธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส และ4) วัสดุและสารเคมี เช่น พลาสติกชีวภาพ เป็นต้น ในปัจจุบันมุมมองต่อโรงบำบัดน้ำเสีย (wastewater treatment plants, WWTPs) จึงเริ่มเปลี่ยนเป็นโรงนำกลับคืนน้ำและทรัพยากร (water and resource recovery facility, WRRFs) หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการบำบัดน้ำเสียและการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสีย โดยผู้เขียนได้ผนวกรวมประสบการณ์จากการทำงานวิจัยด้านการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสำหรับการนำกลับคืนทรัพยากรจากน้ำเสียมามากกว่า 10 ปี ไว้ในหนังสือเล่มนี้

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image