Local cover image
Local cover image

การศึกษาการจัดการข้อร้องเรียนโครงการก่อสร้างในเมือง กรณีศึกษา โครงการก่อสร้างรถไฟฟ้าสายสีแดง (ช่วงบางซื่อ-รังสิต) = THE STUDY ON URBAN CONSTRUCTION COMPLAIN MANAGEMENT : THE CONSTRCUTION OF RED LINE TRAIN (BANGSUE-RANGSIT)

By: Material type: TextTextSeries: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมืองPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2564.Description: 107 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): LOC classification:
  • วพ HD9715 อ34ก 2564
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564 Summary: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ และวิธีการแก้ไขปัญหาจัดการข้อร้องเรียนภายในโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง ศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาข้อร้องเรียน จัดทำคู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนใช้เครื่องมือการสำรวจข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในแผนกควบคุมเอกสาร 2) วิศวกร/สถาปนิก/นักวิชาการ ของโครงการ (15 คน) และประเมินผลคู่มือโดยกลุ่มผู้บริหารโครงการ (5 คน) ศึกษาวิธีการและช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน การดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน ตลอดจนระยะเวลาในการดำเนินการSummary: ผลการศึกษาพบว่า เรื่องที่ร้องเรียนมากที่สุดคือ ปัญหาเกี่ยวกับการคมนาคมและการจราจร (50.30%) ผลการสํารวจสภาพปัญหาโดยวิธีการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามพบว่า ปัญหาด้านการปฏิบัติงานที่พบมากที่สุด ได้แก่ 1) การบริหารจัดการข้อร้องเรียนภายในโครงการ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 2) ความรู้ความเข้าใจของบุคลากรต่อรายละเอียดของข้อร้องเรียน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ผลการศึกษาด้านความต้องการในการปฏิบัติงานการจัดการข้อร้องเรียนพบว่ามี 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การกําหนดแนวทางในการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน (66.70%) 2) การติดตามผลการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน และประเมินผล (60.00%) และ 3) การกําหนดระยะเวลาในการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน (53.33%) ตามลําดับ การจัดทําคู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียน ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน ได้แก่ 1) ช่องทางการร้องเรียน 2) กลุ่มปัญหาข้อร้องเรียน โครงสร้างการบริหารจัดการข้อร้องเรียน และกําหนดระยะเวลา 3) วิธีในการติดตามและประเมินผล เพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในงานต่อไป
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit Available eb37351
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit วพ HD9715 อ34ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047599
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564

งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและรวบรวมข้อมูลสถานการณ์ และวิธีการแก้ไขปัญหาจัดการข้อร้องเรียนภายในโครงการรถไฟฟ้าสายสีแดง ศึกษาสภาพ ปัญหา ความต้องการ และข้อเสนอแนะของผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการปัญหาข้อร้องเรียน จัดทำคู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียนใช้เครื่องมือการสำรวจข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย 1) เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในแผนกควบคุมเอกสาร 2) วิศวกร/สถาปนิก/นักวิชาการ ของโครงการ (15 คน) และประเมินผลคู่มือโดยกลุ่มผู้บริหารโครงการ (5 คน) ศึกษาวิธีการและช่องทางในการรับเรื่องร้องเรียน การดำเนินการแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน ตลอดจนระยะเวลาในการดำเนินการ

ผลการศึกษาพบว่า เรื่องที่ร้องเรียนมากที่สุดคือ ปัญหาเกี่ยวกับการคมนาคมและการจราจร (50.30%) ผลการสํารวจสภาพปัญหาโดยวิธีการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามพบว่า ปัญหาด้านการปฏิบัติงานที่พบมากที่สุด ได้แก่ 1) การบริหารจัดการข้อร้องเรียนภายในโครงการ ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 2) ความรู้ความเข้าใจของบุคลากรต่อรายละเอียดของข้อร้องเรียน ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.13 ผลการศึกษาด้านความต้องการในการปฏิบัติงานการจัดการข้อร้องเรียนพบว่ามี 3 ประเด็น ได้แก่ 1) การกําหนดแนวทางในการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน (66.70%) 2) การติดตามผลการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน และประเมินผล (60.00%) และ 3) การกําหนดระยะเวลาในการดําเนินการจัดการข้อร้องเรียน (53.33%) ตามลําดับ การจัดทําคู่มือการบริหารจัดการข้อร้องเรียน ประกอบด้วยเนื้อหา 3 ส่วน ได้แก่ 1) ช่องทางการร้องเรียน 2) กลุ่มปัญหาข้อร้องเรียน โครงสร้างการบริหารจัดการข้อร้องเรียน และกําหนดระยะเวลา 3) วิธีในการติดตามและประเมินผล เพื่อนําไปประยุกต์ใช้ในงานต่อไป

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image