Local cover image
Local cover image

การจัดการขยะในพื้นที่ท่องเที่ยวเขตเมือง กรณีศึกษาตลาดน้้าตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร = SOLID WASTE MANAGEMENT IN URBAN TOURIST AREA : THE CASE STUDY OF TALING CHAN FLOATING MARKET, BANGKOK

By: Material type: TextTextSeries: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมืองPublication details: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช, 2564.Description: 67 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): LOC classification:
  • วพ TD785 ป748ก 2564
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564 Summary: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการขยะในพื้นที่เขตเมือง โดยพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ตลาดน้้าตลิ่งชัน การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชัน กลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชัน จากกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มประชาคม ผู้ประกอบการ (2) กลุ่มภาครัฐ และ (3) กลุ่มภาคประชาสังคม จำนวน 15 คน เป็นการสัมภาษณ์โดยการเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)Summary: ผลการศึกษาพบว่ามีปัญหาเรื่องการจัดการขยะ โดยพบปัญหา ได้แก่ การคัดแยกขยะ จุดวางถังขยะ ความสะอาดของจุดทิ้งขยะ และปริมาณขยะ ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการจัดการประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่ (1) การบริหารรูปแบบประชาคมมีความคล่องตัว พบว่าสามารถบริหารจัดการแก้ไขปัญหาเรื่องต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว (2) จุดแข็งทางกายภาพของพื้นที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้้าตลิ่งชันได้สะดวก มีเส้นทางการคมนาคมทั้งทางบกและทางน้้า (3) การมีส่วนร่วม ความร่วมมือกันระหว่างประชาคม ผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคม ท้าให้การบริหารจัดการในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชันมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดน้าไปสู่การพิจารณาและการประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อการออกแบบระบบการจัดการขยะที่เป็นรูปธรรม โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมเป็นแนวทางการศึกษาเริ่มต้นเพื่อให้สามารถพัฒนาเป็นกลไกการจัดการขยะในพื้นที่ท่องเที่ยวประเภทตลาดน้้า หรือพื้นที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ ในเขตพื้นที่เมืองที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Collection Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit วพ TD785 ป748ก 2564 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047597
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library NMU IR Processing unit Available eb37302
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญา

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาและจัดการเมือง วิทยาลัยพัฒนามหานคร มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ปีการศึกษา 2564

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการขยะในพื้นที่เขตเมือง โดยพื้นที่ศึกษา ได้แก่ ตลาดน้้าตลิ่งชัน การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) โดยการสัมภาษณ์ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชัน กลุ่มผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชัน จากกลุ่มตัวอย่างจ้านวน 3 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มประชาคม ผู้ประกอบการ (2) กลุ่มภาครัฐ และ (3) กลุ่มภาคประชาสังคม จำนวน 15 คน เป็นการสัมภาษณ์โดยการเลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling)

ผลการศึกษาพบว่ามีปัญหาเรื่องการจัดการขยะ โดยพบปัญหา ได้แก่ การคัดแยกขยะ จุดวางถังขยะ ความสะอาดของจุดทิ้งขยะ และปริมาณขยะ ผลการวิเคราะห์ศักยภาพด้านการจัดการประกอบด้วย 3 ประเด็น ได้แก่ (1) การบริหารรูปแบบประชาคมมีความคล่องตัว พบว่าสามารถบริหารจัดการแก้ไขปัญหาเรื่องต่าง ๆ ได้สะดวกและรวดเร็ว (2) จุดแข็งทางกายภาพของพื้นที่นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางมาท่องเที่ยวตลาดน้้าตลิ่งชันได้สะดวก มีเส้นทางการคมนาคมทั้งทางบกและทางน้้า (3) การมีส่วนร่วม ความร่วมมือกันระหว่างประชาคม ผู้ประกอบการ หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคม ท้าให้การบริหารจัดการในพื้นที่ตลาดน้้าตลิ่งชันมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดน้าไปสู่การพิจารณาและการประยุกต์ใช้ข้อมูลเพื่อการออกแบบระบบการจัดการขยะที่เป็นรูปธรรม โดยใช้ข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรมเป็นแนวทางการศึกษาเริ่มต้นเพื่อให้สามารถพัฒนาเป็นกลไกการจัดการขยะในพื้นที่ท่องเที่ยวประเภทตลาดน้้า หรือพื้นที่ท่องเที่ยวอื่น ๆ ในเขตพื้นที่เมืองที่มีลักษณะใกล้เคียงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image