Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

การประเมินความเสียงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย / สุนิสา ชายเกลี้ยง.

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2564.Edition: พิมพ์ครั้งที่ 1Description: 316 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางISBN:
  • 9786164386860
Subject(s): Online resources:
Contents:
การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง : Major hazard -- การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ -- การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย -- การชี้บ่งอันตรายด้วยแบบตรวจ (Checklist) และการประเมินความเสี่ยง -- การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีการตั้งคำถาม What-if และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (Harzards and operability studies; HAZOP) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วย Fault tree analysis (FTA) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยเทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (Failure modes and effects analysis; FMEA) และการประเมิณความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (Event tree analysis; ETA) และการประเมินความเสี่ยง -- แผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน : Emergency plan and response
Summary: ตำราเล่มนี้ได้เรียบเรียงจัดทำขึ้นภายใต้ทุนสนับสนุนการผลิตตำรา ของศูนย์นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเนื้อหาที่เรียบเรียงจะครอบคลุมด้านหลักการของการประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม การประเมินความเสี่ยงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงเหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาทั้งระดับบัณฑิตศึกษาและนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยมีเนื้อหาคือ บทที่ 1 การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง บทที่ 2 การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ บทที่ 3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย และบทที่ 4 ถึงบทที่ 9 จะเป็นรายละเอียดวิธีการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงในทางอุตสาหกรรมตามวิธีการต่างๆ 6 วิธีการ พร้อมรวบรวมกรณีตัวอย่างที่มาจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมและจากผลงานศึกษาวิจัยที่เผยแพร่แล้วระดับระดับชาติและนาชาติของผู้เขียน ในแต่ละบทของวิธีการบ่งชี้อันตราย คือ การใช้แบบตรวจ (Checklist) การตั้งคำถามวิเคราะห์ (What-if analysis) การศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (HAZOP) การวิเคราะห์หาสาเหตุและผลหรือแผนภูมิต้นไม้ (FTA) เทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (FMEA) การประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (ETA) ตามลำดับ และเนื้อหาสำคัญบทที่ 10 ด้านหลักการของแผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พร้อมยกตัวอย่างการจัดทำแผนฉุกเฉินจากประสบการณ์การจัดทำและการเป็นที่ปรึกษาหรือวิทยากรให้กับสถาบันต่างๆ ซึ่งการจัดทำตำราครั้งนี้ได้รับกรุณาจาก รองศาสตราจารย์วิชัย พฤกษ์ธาราธิกูล ร่วมเรียบเรียงและอ่านตรวจสอบเล่มนี้ ดังนั้นทั้งเนื้อหา กรณีตัวอย่าง ภาพ หรือเหตุการณ์ประกอบมาจากประสบการณ์ และการสอนทั้งในมหาวิทยาลัยและโรงงานอุตสาหกรรมมากว่า 30 ปี
List(s) this item appears in: occupational health อาชีวอนามัยและความปลอดภัย (update2023)
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb37154
Total holds: 0

การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง : Major hazard -- การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ -- การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย -- การชี้บ่งอันตรายด้วยแบบตรวจ (Checklist) และการประเมินความเสี่ยง -- การชี้บ่งอันตรายด้วยวิธีการตั้งคำถาม What-if และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (Harzards and operability studies; HAZOP) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วย Fault tree analysis (FTA) และการประเมินความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยเทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (Failure modes and effects analysis; FMEA) และการประเมิณความเสี่ยง -- การบ่งชี้อันตรายด้วยการประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (Event tree analysis; ETA) และการประเมินความเสี่ยง -- แผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน : Emergency plan and response

ตำราเล่มนี้ได้เรียบเรียงจัดทำขึ้นภายใต้ทุนสนับสนุนการผลิตตำรา ของศูนย์นวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งเนื้อหาที่เรียบเรียงจะครอบคลุมด้านหลักการของการประเมินความเสี่ยงในงานอุตสาหกรรม การประเมินความเสี่ยงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จึงเหมาะสำหรับใช้ประกอบการเรียนการสอน สำหรับนักศึกษาทั้งระดับบัณฑิตศึกษาและนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยมีเนื้อหาคือ บทที่ 1 การเกิดอุบัติภัยร้ายแรง บทที่ 2 การควบคุมอุบัติภัยร้ายแรงและการประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพ บทที่ 3 การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย และบทที่ 4 ถึงบทที่ 9 จะเป็นรายละเอียดวิธีการชี้บ่งอันตรายและการประเมินความเสี่ยงในทางอุตสาหกรรมตามวิธีการต่างๆ 6 วิธีการ พร้อมรวบรวมกรณีตัวอย่างที่มาจากกระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมและจากผลงานศึกษาวิจัยที่เผยแพร่แล้วระดับระดับชาติและนาชาติของผู้เขียน ในแต่ละบทของวิธีการบ่งชี้อันตราย คือ การใช้แบบตรวจ (Checklist) การตั้งคำถามวิเคราะห์ (What-if analysis) การศึกษาอันตรายหรือปัญหาของระบบจากการออกแบบ (HAZOP) การวิเคราะห์หาสาเหตุและผลหรือแผนภูมิต้นไม้ (FTA) เทคนิคการวิเคราะห์รูปแบบความเสียหายและผลกระทบ (FMEA) การประเมินผลของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากความผิดพลาด (ETA) ตามลำดับ และเนื้อหาสำคัญบทที่ 10 ด้านหลักการของแผนฉุกเฉินและการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน พร้อมยกตัวอย่างการจัดทำแผนฉุกเฉินจากประสบการณ์การจัดทำและการเป็นที่ปรึกษาหรือวิทยากรให้กับสถาบันต่างๆ ซึ่งการจัดทำตำราครั้งนี้ได้รับกรุณาจาก รองศาสตราจารย์วิชัย พฤกษ์ธาราธิกูล ร่วมเรียบเรียงและอ่านตรวจสอบเล่มนี้ ดังนั้นทั้งเนื้อหา กรณีตัวอย่าง ภาพ หรือเหตุการณ์ประกอบมาจากประสบการณ์ และการสอนทั้งในมหาวิทยาลัยและโรงงานอุตสาหกรรมมากว่า 30 ปี

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image