Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

วิทยาศาสตร์แห่งความเหงา = Loneliness : human nature and the need for social connection / John T. Cacioppo และ William Patrick เขียน ; โตมร ศุขปรีชา แปล.

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : Salt, 2563 [2020]Edition: พิมพ์ครั้งแรกDescription: 382 หน้า : ภาพประกอบISBN:
  • 9786168266144
  • 6168266143
Other title:
  • Loneliness : human nature and the need for social connection [Parallel title]
Subject(s): LOC classification:
  • BF575.ห7 ค62 2563
Summary: ความเหงาเป็นสิ่งสากล อาจจะบ่อยหรือไม่บ่อย มากหรือน้อย แต่เชื่อว่าในชีวิตของทุกคนต้องเคย ‘เหงา’ แต่รู้ไหมว่าความเหงาไม่ใช่เรื่องของคนเมืองยุคใหม่เท่านั้น แต่ความเหงาอยู่กับเรามาแต่บรรพกาล ก่อนหน้าที่มนุษย์จะวิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์อย่างทุกวันนี้เสียอีก อย่างที่เรารู้กันว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคม ความเหงาจึงเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ และที่จริง หากปราศจากความเหงา, มนุษย์ก็อาจไม่เป็นมนุษย์อย่างที่เราเห็นก็ได้ เพราะความเหงามีส่วนสำคัญทำให้มนุษย์รอดชีวิตจากภยันตรายต่างๆ มาได้ ความเหงาดึงดูดมนุษย์ให้อยู่รวมกลุ่ม และการอยู่รวมกลุ่มนั้นเองที่ทำให้เรามีอำนาจต่อกรกับพลังของธรรมชาติมาได้ ผู้เขียน จอห์น ที. คาชิออปโป จากมหาวิทยาลัยชิคาโก จะพาเราไปทำความรู้จักกับ ‘ความเหงา’ ลึกซึ้งลงไปถึงแก่นของมัน ผู้เขียนศึกษาความเหงาในแง่วิทยาศาสตร์และประสาทศาสตร์มานานหลายสิบปี หนังสือเล่มนี้เรียกได้ว่าเป็นงานบุกเบิกการศึกษาเรื่องความเหงาเล่มแรกๆ ของโลกก็ว่าได้ “วิทยาศาสตร์แห่งความเหงา” จะทำให้คุณเข้าใจความเหงาอย่างลึกซึ้งยิ่งกว่าแค่ความรู้สึก.
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
General Book General Book Kuakarun Nursing Library Shelving Cart BF575.ห7 ค62 2563 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047411
Total holds: 0

ความเหงาเป็นสิ่งสากล อาจจะบ่อยหรือไม่บ่อย มากหรือน้อย แต่เชื่อว่าในชีวิตของทุกคนต้องเคย ‘เหงา’ แต่รู้ไหมว่าความเหงาไม่ใช่เรื่องของคนเมืองยุคใหม่เท่านั้น แต่ความเหงาอยู่กับเรามาแต่บรรพกาล ก่อนหน้าที่มนุษย์จะวิวัฒนาการมาเป็นมนุษย์อย่างทุกวันนี้เสียอีก อย่างที่เรารู้กันว่ามนุษย์เป็นสัตว์สังคม ความเหงาจึงเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตมนุษย์ และที่จริง หากปราศจากความเหงา, มนุษย์ก็อาจไม่เป็นมนุษย์อย่างที่เราเห็นก็ได้ เพราะความเหงามีส่วนสำคัญทำให้มนุษย์รอดชีวิตจากภยันตรายต่างๆ มาได้ ความเหงาดึงดูดมนุษย์ให้อยู่รวมกลุ่ม และการอยู่รวมกลุ่มนั้นเองที่ทำให้เรามีอำนาจต่อกรกับพลังของธรรมชาติมาได้ ผู้เขียน จอห์น ที. คาชิออปโป จากมหาวิทยาลัยชิคาโก จะพาเราไปทำความรู้จักกับ ‘ความเหงา’ ลึกซึ้งลงไปถึงแก่นของมัน ผู้เขียนศึกษาความเหงาในแง่วิทยาศาสตร์และประสาทศาสตร์มานานหลายสิบปี หนังสือเล่มนี้เรียกได้ว่าเป็นงานบุกเบิกการศึกษาเรื่องความเหงาเล่มแรกๆ ของโลกก็ว่าได้ “วิทยาศาสตร์แห่งความเหงา” จะทำให้คุณเข้าใจความเหงาอย่างลึกซึ้งยิ่งกว่าแค่ความรู้สึก.

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image