Local cover image
Local cover image

การประเมินผลการส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุในเขตเมือง

By: Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 2561Description: 132 หน้าSubject(s): NLM classification:
  • วพ WT 120
Online resources: Dissertation note: วิทยานิพนธ์(วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต) -- มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Summary: ผลการวิจัย: การส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุ 1) ด้านบริบท มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน มีสถานที่ตั้งที่ชัดเจน ช่วยให้ผู้สูงอายุและประชาชนในชุมชนได้ออกกำลังกาย ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการ ความคาดหวังด้านสุขภาพ มากที่สุด 2) ด้านปัจจัยนำเข้า ปัจจัยที่ช่วยในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น บุคลากร มีความรู้ ความสามารถงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงานมีเพียงพอ มีโครงสร้างกรรมการ ที่ชัดเจนเป็นไปตามข้อกำหนดของสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย 3) ด้านกระบวนการ มีการประชาสัมพันธ์ ที่ทั่วถึงและทันเวลา กิจกรรมส่วนใหญ่กำหนดมาจากเจ้าหน้าที่ศูนย์สาธารณสุข 4 มีการติดตามและวัดผล หลังจัดกิจกรรม 4) ด้านผลผลิต ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวันได้ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตอยู่ในเกณฑ์ ดี ผู้สูงอายุและญาติพึงพอใจต่อชมรมผู้สูงอายุและไม่มีปัญหาด้านการเงิน รูปแบบการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมหลัก 3 รูปแบบ คือ กิจกรรมทางสังคม กิจกรรม ด้านสุขภาพกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
NMU Thesis NMU Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WT 120 ป422 2561 (Browse shelf(Opens below)) Available 0000047386
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์(วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต) -- มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

ผลการวิจัย: การส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุ 1) ด้านบริบท มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุในชุมชน มีสถานที่ตั้งที่ชัดเจน ช่วยให้ผู้สูงอายุและประชาชนในชุมชนได้ออกกำลังกาย ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความต้องการ ความคาดหวังด้านสุขภาพ มากที่สุด 2) ด้านปัจจัยนำเข้า ปัจจัยที่ช่วยในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ เช่น บุคลากร มีความรู้ ความสามารถงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงานมีเพียงพอ มีโครงสร้างกรรมการ ที่ชัดเจนเป็นไปตามข้อกำหนดของสมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย 3) ด้านกระบวนการ มีการประชาสัมพันธ์ ที่ทั่วถึงและทันเวลา กิจกรรมส่วนใหญ่กำหนดมาจากเจ้าหน้าที่ศูนย์สาธารณสุข 4 มีการติดตามและวัดผล หลังจัดกิจกรรม 4) ด้านผลผลิต ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวันได้ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตอยู่ในเกณฑ์ ดี ผู้สูงอายุและญาติพึงพอใจต่อชมรมผู้สูงอายุและไม่มีปัญหาด้านการเงิน รูปแบบการดำเนินการส่งเสริมสุขภาพของชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมหลัก 3 รูปแบบ คือ กิจกรรมทางสังคม กิจกรรม ด้านสุขภาพกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image