Local cover image
Local cover image

หลักการเขียนบทความวิชาการ จากงานวิจัยเบื้องต้น / โดย วิโรจน์ ไววานิชกิจ.

By: Material type: TextTextPublication details: [กรุงเทพฯ] : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, [ม.ป.ป.]Description: 51 หน้าSubject(s): Online resources: Summary: บทความวิจัย (research article) จัดเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการเผยแพร่งานวิจัย ซึ่งจะนามาสู่การพัฒนาของวงการวิชาชีพ [1] บทความวิจัยเป็นสิ่งที่เขียนขึ้นมาจากงานวิจัย ทั้งนี้ทักษะที่จาเป็นเบื้องต้นในการสร้างบทความวิจัยได้แก่การเขียน ทั้งนี้การเขียนเป็นสิ่งจาเป็นเบื้องต้นอย่างยิ่งในการสื่อสารของมนุษย์ ตามหลักการสื่อสารแล้วทักษะสี่อย่างมีสาคัญในการสื่อสารนั้นได้แก่ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน การเขียนจัดเป็นทักษะชั้นสูงสุด การที่จะเขียนเป็นได้ต้องผ่านทักษะอื่นๆ ทั้ง 3 มาก่อน คือเป็นผู้มีความเป็นพหูสูต รอบรู้มาก่อน จากการฟัง การพูด และการอ่านนั่นเอง การเขียนนั้นเป็นการสื่อสารที่ก่อให้เกิดหลักฐาน ตัวหนังสือหรือข้อความที่เขียนขึ้นมา ย่อมเป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่ยอมรับได้ดีกว่าคาพูด โดยทั่วไปสาหรับการเขียนนั้นเป็นทักษะทางภาษา ที่ต้องอาศัยการฝึกหัดมาตั้งแต่เด็ก การเขียนนั้นใช้สร้างงานได้หลายอย่างหลายประเด็น ตั้งแต่การเขียนถึงสิ่งที่ไร้สาระ จนถึงระดับสิ่งที่มีประโยชน์ เป็นที่ยอมรับเป็นที่อ้างอิง
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Electronic Book Electronic Book Kuakarun Nursing Library Processing unit Online Access eb36584
Total holds: 0

บทความวิจัย (research article) จัดเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการเผยแพร่งานวิจัย ซึ่งจะนามาสู่การพัฒนาของวงการวิชาชีพ [1] บทความวิจัยเป็นสิ่งที่เขียนขึ้นมาจากงานวิจัย ทั้งนี้ทักษะที่จาเป็นเบื้องต้นในการสร้างบทความวิจัยได้แก่การเขียน ทั้งนี้การเขียนเป็นสิ่งจาเป็นเบื้องต้นอย่างยิ่งในการสื่อสารของมนุษย์ ตามหลักการสื่อสารแล้วทักษะสี่อย่างมีสาคัญในการสื่อสารนั้นได้แก่ การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน การเขียนจัดเป็นทักษะชั้นสูงสุด การที่จะเขียนเป็นได้ต้องผ่านทักษะอื่นๆ ทั้ง 3 มาก่อน คือเป็นผู้มีความเป็นพหูสูต รอบรู้มาก่อน จากการฟัง การพูด และการอ่านนั่นเอง การเขียนนั้นเป็นการสื่อสารที่ก่อให้เกิดหลักฐาน ตัวหนังสือหรือข้อความที่เขียนขึ้นมา ย่อมเป็นหลักฐานที่ชัดเจนที่ยอมรับได้ดีกว่าคาพูด โดยทั่วไปสาหรับการเขียนนั้นเป็นทักษะทางภาษา ที่ต้องอาศัยการฝึกหัดมาตั้งแต่เด็ก การเขียนนั้นใช้สร้างงานได้หลายอย่างหลายประเด็น ตั้งแต่การเขียนถึงสิ่งที่ไร้สาระ จนถึงระดับสิ่งที่มีประโยชน์ เป็นที่ยอมรับเป็นที่อ้างอิง

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image