Local cover image
Local cover image
Amazon cover image
Image from Amazon.com

วิชารอบรู้ = Range / David Epstein เขียน ; ทีปกร วุฒิพิทยามงคล แปล.

By: Contributor(s): Material type: TextTextPublication details: กรุงเทพฯ : ซอลท์, 2564 [2021]Edition: พิมพ์ครั้งแรกDescription: 384 หน้า : ภาพประกอบISBN:
  • 9786168266182
  • 6168266186
Other title:
  • Range [Parallel title]
Subject(s): LOC classification:
  • BF378.ช63 อ73 2564
Contents:
รอเจอร์ vs. ไทเกอร์ --- ลัทธิเริ่มก่อนได้เปรียบ --- ต้นกำเนิดโลกโหดร้าย --- ยิ่ง (ความซ้ำชาก) น้อยยิ่งดี --- เรียนเร็ว เรียนช้า --- คิดนอกประสบการณ์ --- ปัญหาของวิริยะล้นเกิน --- กระเช้าเย้าแหย่ตัวตนที่เป็นไปได้ --- ข้อได้เปรียบของคนนอก --- คิดแหวกแนวด้วยเทคโนโลยีขาลง --- ถูกความเชี่ยวชาญหลอก --- เรียนรู้ที่จะทิ้งเครื่องมืออันคุ้นเคย --- มือตั้งใจสมัครเล่น --- ขยายขอบเขตของคุณ.
Summary: "ความเป็นเป็ด หรือ Generalist ดีอย่างไร?" หลายคนคงเคยคิดว่าทำไมเราไม่เก่งด้านไหนเลย ทำได้เกือบทุกอย่าง อย่างละนิดอย่างละหน่อย หรือที่เรียกว่า "เป็ด" และหลายคนที่คิดว่าตัวเองเป็นเป็ด คงเคยนึกน้อยใจเหมือนกันที่ตัวเองไม่มีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเลยสักด้าน หรือคำกล่าวที่ว่าถ้าต้องการพัฒนาทักษะในด้านใดด้านหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นด้านดนตรี หรืออยากเก่งเรื่องกีฬา ควรเริ่มทำมันเสียตั้งแต่เนิ่นๆ มุ่งเน้นการฝึกฝนอย่างเข้มข้น ทำให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะถ้าเริ่มต้นช้ากว่าเพื่อน คุณอาจจะไม่มีโอกาสไล่ตามคนที่เริ่มต้นเร็วได้ทัน แต่ถ้าลองพินิจพิจารณาอย่างละเอียดแล้วนั้น ไม่ว่าจะเป็นนักกีฬามืออาชีพไปจนถึงผู้ได้รางวัลโนเบล ความเป็น Specialist หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น อาจไม่ได้จำเป็นเสมอไป… เพราะจริงๆ แล้วการรู้หลายด้านนั้น เป็น "ข้อได้เปรียบ" หรืออาจเรียกได้ว่าเป็น "ชัยชนะ" เลยก็ว่าได้! "วิชารู้รอบ" ฉบับภาษาไทย ถูกแปลมาจาก "Range : Why Generalists Triumph in a Specialized World" โดย "David Epstein" ซึ่งเผยแพร่เมื่อปี 2019 เหมาะสำหรับคนที่เป็น Specialist ที่อยากมองกรอบของความเป็น Generalist มากขึ้น และยังเหมาะกับ First Jobber หรือคนที่กำลังสับสนในชีวิตว่าตัวเองนั้นแท้จริงแล้วอยากทำอะไร.
List(s) this item appears in: Self development การพัฒนาตัวเอง (update23)
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)

รอเจอร์ vs. ไทเกอร์ --- ลัทธิเริ่มก่อนได้เปรียบ --- ต้นกำเนิดโลกโหดร้าย --- ยิ่ง (ความซ้ำชาก) น้อยยิ่งดี --- เรียนเร็ว เรียนช้า --- คิดนอกประสบการณ์ --- ปัญหาของวิริยะล้นเกิน --- กระเช้าเย้าแหย่ตัวตนที่เป็นไปได้ --- ข้อได้เปรียบของคนนอก --- คิดแหวกแนวด้วยเทคโนโลยีขาลง --- ถูกความเชี่ยวชาญหลอก --- เรียนรู้ที่จะทิ้งเครื่องมืออันคุ้นเคย --- มือตั้งใจสมัครเล่น --- ขยายขอบเขตของคุณ.

"ความเป็นเป็ด หรือ Generalist ดีอย่างไร?"
หลายคนคงเคยคิดว่าทำไมเราไม่เก่งด้านไหนเลย ทำได้เกือบทุกอย่าง อย่างละนิดอย่างละหน่อย หรือที่เรียกว่า "เป็ด" และหลายคนที่คิดว่าตัวเองเป็นเป็ด คงเคยนึกน้อยใจเหมือนกันที่ตัวเองไม่มีความรู้อย่างลึกซึ้งในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเลยสักด้าน หรือคำกล่าวที่ว่าถ้าต้องการพัฒนาทักษะในด้านใดด้านหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นด้านดนตรี หรืออยากเก่งเรื่องกีฬา ควรเริ่มทำมันเสียตั้งแต่เนิ่นๆ มุ่งเน้นการฝึกฝนอย่างเข้มข้น ทำให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะถ้าเริ่มต้นช้ากว่าเพื่อน คุณอาจจะไม่มีโอกาสไล่ตามคนที่เริ่มต้นเร็วได้ทัน
แต่ถ้าลองพินิจพิจารณาอย่างละเอียดแล้วนั้น ไม่ว่าจะเป็นนักกีฬามืออาชีพไปจนถึงผู้ได้รางวัลโนเบล ความเป็น Specialist หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านนั้น อาจไม่ได้จำเป็นเสมอไป… เพราะจริงๆ แล้วการรู้หลายด้านนั้น เป็น "ข้อได้เปรียบ" หรืออาจเรียกได้ว่าเป็น "ชัยชนะ" เลยก็ว่าได้!
"วิชารู้รอบ" ฉบับภาษาไทย ถูกแปลมาจาก "Range : Why Generalists Triumph in a Specialized World" โดย "David Epstein" ซึ่งเผยแพร่เมื่อปี 2019 เหมาะสำหรับคนที่เป็น Specialist ที่อยากมองกรอบของความเป็น Generalist มากขึ้น และยังเหมาะกับ First Jobber หรือคนที่กำลังสับสนในชีวิตว่าตัวเองนั้นแท้จริงแล้วอยากทำอะไร.

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image