แนวทางการตรวจและแปลผลสมรรถภาพการได้ยิน ในงานอาชีวอนามัย พ.ศ. 2561

แนวทางการตรวจและแปลผลสมรรถภาพการได้ยิน ในงานอาชีวอนามัย พ.ศ. 2561 Guideline for Standardization and Interpretation of Audiometry in the Occupational Health Setting 2018 Version - ชลบุรี มูลนิธิสัมมาอาชีวะ 2561 - 176 หน้า

พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับเสียงและการได้ยิน --- การตรวจสมรรถภาพการได้ยิน --- โรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง --- นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง --- แนวทางการตรวจและแปลผลในงานอาชีวอนามัย --- คุณภาพของเครื่องตรวจการได้ยิน --- คุณภาพของพื้นที่ตรวจการได้ยิน --- คุณภาพของบุคลากร --- ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม และภาวะแทรกซ้อนที่พึงระวัง --- การเตรียมตัวของผู้เข้ารับการตรวจ --- เทคนิคการตรวจและการรายงานผล --- เกณฑ์การพิจารณาผลตรวจเพื่อประเมินความพร้อมในการทำงาน --- เกณฑ์การพิจารณาผลตรวจเพื่อป้องกันโรคประสาทหูเสื่อมจากเสียงดัง --- การปรับค่าการตรวจพื้นฐาน (Baseline revision) --- การปรับค่าการตรวจตามอายุ (Age correction) --- เกณฑ์การส่งต่อเพื่อรับการตรวจวินิจฉัยยืนยันและการรักษา --- ข้อจำกัดและโอกาสในการพัฒนา --- เอกสารอ้างอิง --- ภาคผนวก 1: ตัวอย่างของโรคและภาวะต่างๆ ที่ทำให้เกิดการสูญเสียการได้ยิน --- ภาคผนวก 2: การคำนวณหาขนาดการสัมผัสเสียง (Noise dose) --- ภาคผนวก 3: ตัวอย่างใบรายงานผลการตรวจสมรรถภาพการได้ยินในงานอาชีวอนามัย --- ภาคผนวก 4: ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2553


อาชีวอนามัย
การได้ยิน --- สมรรถภาพ