Local cover image
Local cover image

รูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง = a prevention model for the risks of depression among older adults with non-communicable diseases / วัลยา ตูพานิช

By: Material type: TextTextPublication details: พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2566Description: 246 หน้า : ภาพประกอบ, ตารางSubject(s): NLM classification:
  • วพ WM171.5
Dissertation note: วิทยานิพนธ์นี เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2564 Summary: การวิจัยเชิงผสมผสานแบบแผนหลายระยะ (Sequential Mixed Methods Research Designs) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบ่งระยะการวิจัยเป็น 3 ระยะตามกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) ศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) การสร้างรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ 3) การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดนนทบุรีมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 23.8 โดยปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ สถานภาพหม้าย ความไม่เพียงพอของรายได้ การไม่ได้เรียน การเป็นโรคเบาหวาน สุขภาวะทางกาย ความผาสุกทางใจ ความว้าเหว่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน การรับประทานอาหารไม่เพียงพอ การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ การดื่มสุราเป็นประจำ หรือ บ่อยครั้ง การทำงานอดิเรก และสัมพันธภาพในครอบครัว รูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และบริการสาธารณสุข ซึ่งได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชพบว่ามีความเหมาะสม (Propriety) ความถูกต้อง ครอบคลุม (Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) และความเป็นไปได้ (Feasibility) อยู่ในระดับมากที่สุด แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ในพื้นที่ และประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆที่มีบริบทใกล้เคียงตามความเหมาะสมต่อไป'
Tags from this library: No tags from this library for this title. Log in to add tags.
Star ratings
    Average rating: 0.0 (0 votes)
Holdings
Item type Current library Shelving location Call number Status Date due Barcode Item holds
Thesis Thesis Kuakarun Nursing Library Processing unit วพ WM171.5 ธ445ร 2566 (Browse shelf(Opens below)) Available A0000000432
Total holds: 0

วิทยานิพนธ์นี เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีการศึกษา 2564

การวิจัยเชิงผสมผสานแบบแผนหลายระยะ (Sequential Mixed Methods Research Designs) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบ่งระยะการวิจัยเป็น 3 ระยะตามกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) ศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) การสร้างรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ 3) การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่าง ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดนนทบุรีมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 23.8 โดยปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ สถานภาพหม้าย ความไม่เพียงพอของรายได้ การไม่ได้เรียน การเป็นโรคเบาหวาน สุขภาวะทางกาย ความผาสุกทางใจ ความว้าเหว่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน การรับประทานอาหารไม่เพียงพอ การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ การดื่มสุราเป็นประจำ หรือ บ่อยครั้ง การทำงานอดิเรก และสัมพันธภาพในครอบครัว รูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และบริการสาธารณสุข ซึ่งได้รับการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชพบว่ามีความเหมาะสม (Propriety) ความถูกต้อง ครอบคลุม (Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) และความเป็นไปได้ (Feasibility) อยู่ในระดับมากที่สุด แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ในพื้นที่ และประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆที่มีบริบทใกล้เคียงตามความเหมาะสมต่อไป'

There are no comments on this title.

to post a comment.

Click on an image to view it in the image viewer

Local cover image