TY - BOOK AU - พลพันธ์ บุญมาก, AU - สุหัทยา บุญมาก, ED - มหาวิทยาลัยขอนแก่น. TI - การจัดการภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะระงับความรู้สึก PY - 2559/// CY - ขอนแก่น PB - ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น KW - หัวใจ KW - โรค KW - การรักษา KW - การระงับความรู้สึก N1 - บทนำ -- อุบัติการณ์ -- ปัจจัยเสี่ยง -- การช่วยชีวิต -- สาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้น -- การวินิจฉัยภาวะหัวใจหยุดเต้นระหว่างระงับความรู้สึก -- การแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่จำเป็นสำหรับการช่วยชีวิต -- การดูแลภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะระงับความรู้สึก -- การดูแลผู้ป่วยที่มีชีพจรและหัวใจเต้นเร็วขณะระงับความรู้สึก -- การดูแลผู้ป่วยที่มีชีพจรและหัวใจเต้นช้าขณะระงับความรู้สึก -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากยาชาเป็นพิษ -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากปัญหาการจัดการทางเดินหายใจ -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นกับภาวะช็อก -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากการฉีดยาชาเข้าช่องไขสันหลัง -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากการเสียเลือดมาก -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากภาวะโพแทสเซียมสูง -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจากการได้รับบาดเจ็บ -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก air embolism -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นในสตรีตั้งครรภ์ -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก anaphylaxis -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นจาก malignant hyperthermia -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นกับ extracorporeal CPR (ECPR) -- ภาวะหัวใจหยุดเต้นกับการประเมินด้วยเครื่องตรวจอัลตร้าชาวด์ -- สาเหตุของภาวะหัวใจหยุดเต้นที่แก้ไขได้ -- การบริหารทรัพยากรในภาวะหัวใจหยุดเต้น N2 - การให้บริการทางวิสัญญีมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหัวใจหยุดเต้นโดยอาจมีได้จากหลายสาเหตุทั้งจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิสัญญี ปัจจัยทางการผ่าตัด และตัวผู้ป่วยเองซึ่งถึงแม้จะพบว่าอุบัติการณ์ของภาวะหัวใจหยุดเต้นขณะระงับความรู้สึกลดลงอย่างต่อเนื่องตามการพัฒนาทางการแพทย์ในการดูแลผู้ป่วย แต่อย่างไรก็ตามเมื่อเกิดขึ้นขณะระงับความรู้สึก ทีมวิสัญญีซึ่งเป็นผู้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยนั้นควรมีศักยภาพและความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจึงจำเป็นต้องมีความรู้ในการช่วยชีวิต โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิสัญญีโดยตรง และมีการจัดการที่ครอบคลุมถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องผ่าตัด ซึ่งอาจต้องมีการดูแลที่ปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น ๆ UR - https://elibrary-nmulib.cu-elibrary.com/rent/ebook/detail/0009bdc4-9768-4bbc-9410-f957aca12427 ER -