TY - BOOK AU - แสงเทียน อยู่เถา, ED - มหาวิทยาลัยมหิดล, TI - การรังสรรค์งานวิชาการ : งานวิเคราะห์ วิจัย และคู่มือการปฏิบัติงาน ของบุคลากรสายสนับสนุน และข้าราชการ : สู่ความก้าวหน้าในตำแหน่งงานวิชาการ SN - 9786162795435 PY - 2559/// CY - นครปฐม PB - คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล KW - วิจัย KW - คู่มือปฏิบัติการ KW - การเขียนทางวิชาการ N1 - แรงขับเคลื่อนสู่การรังสรรค์งานวิชาการจากงานประจำ -- ประเภทของบุคลากรสายสนับสนุน -- ลำดับของผู้สร้างสรรค์ผลงานวิชาการ -- โครงสร้างของงานวิชาการ -- ประเด็นปัญหาสู่ที่มาของชื่องานวิชาการ -- การสร้างงานวิชาการจากผลงานนวัตกรรมหรือสิ่งประดิษฐ์ -- คำสำคัญของงานวิชาการ -- การเขียนความเป็นมาและความสำคัญของการวิจัย การวิเคราะห์ หรือคู่มือปฏิบัติงาน -- การเขียนวัตถุประสงค์ของการส์ร้างงานวิชาการ -- แนวคิดและทฤษฎีสำคัญในการสร้างงานวิชาการ -- การเขียนเอกสารที่เกี่ยวข้อง -- การกำหนดกรอบแนวคิดในงานวิชาการ -- กลยุทธ์การสืบค้นงานวิชาการที่เกี่ยวข้องด้วยสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ -- การเขียนสมมุติฐานงานวิชาการที่เป็นการวิจัยหรือการวิเคราะห์ -- ตัวแปรในงานวิจัย หรืองานวิเคราะห์ -- การเขียนนิยามศัพท์เฉพาะที่ใช้ในการวิจัยหรือการวิเคราะห์ -- การเขียนประเภทของ งานวิชาการที่เป็นรูปแบบการวิจัย -- การเขียนและการกำหนดประชากร และกลุ่มตัวอย่าง -- การจัดทำเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย หรืองานวิเคราะห์ -- การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย หรืองานวิเคราะห์ -- สถิติที่ใช้ในงานวิชาการ งานวิจัย หรืองานวิเคราะห์ -- การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ -- การเขียนการสรุปและอภิปรายผล -- การเขียนข้อเสนอแนะงานวิชาการ -- การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน -- การเขียนบทคัดย่องานวิชาการประเภทวิจัย -- การนำเสนองานวิชาการ N2 - การพัฒนางานด้านต่าง ๆ ของบุคลากรสายสนับสนุน หรือข้าราชการ ก็เป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้องค์การพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง และสามารถบริหารจัดการงานที่ได้รับผิดชอบ หรือให้การบริการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็ต้องมีการพัฒนาบุคลากรเหล่านั้นให้ มีความรู้ความสามารถ ความชำนาญ รวมถึงสร้างประสบการณ์ในการทำงาน ตามหลักการของการพัฒนาทุนมนุษย์ในการบริหารจัดการสำหรับองค์การยุคใหม่ โดยการดำเนินการให้เป็นองค์การที่ขับเคลื่อน โดยใช้ฐานแห่งสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) ใช้ข้อมูลจริงเป็นพื้นฐาน (Factbased) ในการตัดสินใจ ลดการใช้ฐานของความรู้สึก (Feeling-based) ในการตัดสินใจนำพาองค์การ เพื่อลดความเสี่ยงขององค์การ นำพาองค์การให้มีความได้เปรียบในการแข่งขัน การรังสรรค์งานวิชาการเพื่อสร้างองค์ความรู้ (Body of Knowledge) ขององค์การจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งรวมถึงการผลักดันให้ บุคลากรสายสนับสนุน ข้าราชการ หรือบุคลากรต่าง ๆ ในองค์การ ให้มีความก้าวหน้า UR - https://elibrary-nmulib.cu-elibrary.com/rent/ebook/detail/364fbd2b-5c08-4fd5-9d9a-cfe6ee0952a6 ER -